Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ19  
Total 19  

Listed Company
Manager Lists
 
People > สมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์


นิตยสารผู้จัดการ (11 - 19 of 19 items)
สุระ-สมบูรณ์...เราจะเป็นแฟนกันได้อย่างไร? ความขัดแย้งในธนาคารแหลมทองตั้งแต่ปี 2527 จนถึงปัจจุบัน สำหรับคนภายนอกแล้วมันเป็นไปได้ทั้งนั้นว่าเกิดความขัดแย้งทางธุรกิจหรือความขัดแย้งเรื่องส่วนตัว ผู้ที่จะอธิบายเรื่องราวทั้งหมดได้ก็คงเป็นสุระ จันทร์ศรีชวาลา และสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
สมบูรณ์-สุระ ใครฉีกสัญญาประนีประนอมก่อน? ประเด็นนี้ไม่สู้มีข้อกังขากันเท่าใดนัก เพราะคงไม่มีใครยอมรับว่าฝ่ายตนเป็นผู้ฉีกสัญญาก่อน อย่างไรก็ตาม แง่มุมทัศนะที่มองซึ่งกันและกันว่า เป็นผู้ที่ละเมิดข้อตกลงประนีประนอมนั้นมีเหตุผลหนักแน่นไม่น้อย ส่วนจะตัดสินใจว่าเหตุผลใครดีกว่า...ก็แล้วแต่(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
อย่างนี้หรือที่เขาเรียกว่าแถลงข่าว? เวลานัดแถลงข่าวของสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ กำหนดไว้ 15.30 น. ของวันศุกร์ที่ 28 มีนาคม 2529 อันเป็นวันประชุมผู้ถือหุ้นใหญ่ของธนาคารแหลมทอง มีผู้สื่อข่าวจากสื่อมวลชนฉบับต่าง ๆ ไปนั่งรออยู่กว่า 30 คน(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
วานิช ไชยวรรณ กับความขัดแย้ง สมบูรณ์-สุระ ตัวแปรที่อ่านยาก... น่าจะมีคนเป็นจำนวนมากอยากทราบว่าเขา-วานิช ไชยวรรณ รู้สึกนึกคิดเช่นไรเกี่ยวกับเรื่องวุ่น ๆ ในแบงก์แหลมทองหรือพูดอีกทีก็คือความขัดแย้งระหว่างสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ กับกลุ่มสุระ จันทร์ศรีชวาลา(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
สุวัฒน์ พฤกษเสถียร-ไพศาล พืชมงคล การต่อสู้ของฝ่าย “ธรรม” กับ “ธรรม” ที่ไม่มีใครยอมเป็นฝ่าย “อธรรม” เกือบ 2 ปีมานี้ทั้งสมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ และสุระ จันทร์ศรีชาลา ต้องเหน็ดเหนื่อยกับการกรำศึกระหว่างกันและกันอย่างมา ๆ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2527 ผู้ถือหุ้นทางฝ่ายสุระฟ้องแบก์แหลมทองกับสมบูรณ์เป็นจำเลยต่อศาลแพ่งคดีหมายเลขดำที่ 2205/2527(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
สมบูรณ์ นันทาภิวัฒน์ ภาระ (อันหนักอึ้ง) ของหัวแถว “นันทาภิวัฒน์” เช่นเขายังมีอยู่! เมื่อใหญ่ นันทาภิวัตน์ ยังไม่ร่ำรวยอู้ฟู่ นับย้อนจากวันนี้ไปประมาณ 50 ปี ครอบครัวของเขาตั้งรกรากดูมั่นคงพอประมาณบนถนนนเรศ ซึ่งเชื่อมต่อระหว่างถนนสุรวงศ์กับถนนสี่พระยา ลูกเต้าของเขาทุกคนได้ถือกำเนิด ณ ที่แห่งนี้(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
เราควรจะมีการ TAKE OVER แบบนี้มากขึ้น แต่ต้องอยู่ในกติกาที่เป็นธรรมกว่านี้ ความจริงเรามี Corporate takeover อย่างในกรณีแบบแหลมทองมานานแล้ว แต่มักจะมาในลักษณะของปลาใหญ่กินปลาเล็ก บ่อยครั้งไปที่เรามักจะได้ยินตำนานในอดีตถึงการยึดหุ้นหรือยึดบริษัทของคนรุ่นเก่า ๆ ที่เจ้าหนี้จะยึดลูกหนี้(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2529)
THE PARTNERS!! มันเป็นเรื่องของธนาคารที่น่าจะมีอนาคตมาแต่แรก แต่ผู้บริหารใช้ความรั้นดื้อและไม่ยอมรับฟังเหตุผล ก็เลยเกิดภาวะการขัดแย้งที่ยืดเยื้อมาจนในที่สุดก็ต้องยอม เพราะเงื้อมมือของกฎหมายได้เอื้อมเข้ามาจนจวนจะถึงตัวเองในที่สุด(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2528)
บางระจันของนันทาภิวัฒน์ "ผู้จัดการ" ได้ติดตามข่าวคราวของธนาคารแหลมทองมานาน ตั้งแต่ยังไม่เกิดเรื่องเกิดราวขึ้นมา การติดตามของ "ผู้จัดการ" นั้นอยู่ในประเด็นที่ว่าธนาคารแห่งนี้ บริหารงานกันในรูปแบบใด ถึงได้ขยับจากอันดับที่ 15 ลงไปเป็นอันดับที่ 16 ได้ หรือพูดง่ายๆ เคยอยู่รองโหล่ทำไปทำมาอยู่อันดับโหล่สุดได้(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2527)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us