การล่มสลายของ Andersen
บริษัทสิ้นสุด 89 ปี ในฐานะบริษัทตรวจสอบบัญชีชั้นดี 1 ใน 5 ของโลก
หลังเหตุการณ์ฉาวโฉ่ กรณีร่วมรู้เห็นเป็นใจฉ้อฉล เซ็นรับรองบัญชีตบตามหาชน
ให้บริษัทค้าพลังงาน Enron จึงทำให้บริษัทต้องพักการตรวจบัญชีในสหรัฐอเมริกา
และต้องปิดทำการในหลายๆ สาขาทั่วโลก รวมถึงบริษัทพันธมิตรต่างชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2545)
ความคืบหน้าคดีธุรกิจใหญ่ในอเมริกา
Kmart Corp. กำลังสอบสวนการบริหารบริษัทภายใต้อดีตซีอีโอชาร์ล คอนนาเวย์
และได้ระงับการจ่ายเงินบำเหน็จให้อดีตผู้บริหารหลายคน แต่การระงับครั้งนี้ไม่ส่งผลถึงตัวนายคอนนาเวย์
ที่ลาออกในเดือนมีนาคม และได้รับเงินบำเหน็จในการยอมแยกตัวถึง 4 ล้านเหรียญ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545)
Andrew Fastow พ่อมดการเงินแห่ง Enron ผู้ตกสวรรค์
เหล่าพนักงานของ Enron ต่างทยอยเดินเข้าสู่ห้องจัดประชุมของโรงแรม เมื่อวันที่
23 ตุลาคมปีที่แล้ว ด้วยใจคอที่ไม่ค่อยสบายนัก เพราะเมื่อไม่กี่วันก่อนหน้านั้น
บริษัทยักษ์ใหญ่ค้าพลังงานแห่งนี้ เพิ่งจะประกาศผลขาดทุนถึง 618 ล้านดอลลาร์
ในไตรมาสที่ 3 ของปีกลาย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2545)
Enron ร่วงบทเรียนบริหาร "มหาบริษัท" หรือ จุดจบของความโลภ?
จนถึงปีที่แล้ว กลุ่ม Enron ยังคงครองตำแหน่งบริษัทใหญ่อันดับ 7 ของอเมริกา
และบริษัทค้าพลังงานที่ใหญ่ที่สุดในโลก รับผิดชอบตลาดพลังงานไฟฟ้าและแก๊สราว
20 เปอร์เซ็นต์ในทวีปอเมริกาเหนือ พร้อมทั้งมีการลงทุนด้านอื่นๆ และการร่วมทุนหลากหลายด้านทั่วโลก
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
เคนเนท แอล.เลย์ ผู้เห็นเอนรอนมาตั้งแต่เกิดจนดับ!
นับว่าสะเทือนเลื่อนลั่น...สำหรับการล้มละลายของเอนรอนคอร์ป (Enron Corp.) ยักษ์ใหญ่ทางด้านพลังงานและก๊าซธรรมชาติของสหรัฐอเมริกา
แม้เอนรอนจะประกาศล้มละลายไปตั้งแต่เมื่อเดือนธันวาคม ปีที่แล้ว แต่เรื่องก็ใช่ว่าจะจบ
อีกทั้งทำท่าว่าจะยุ่งเหยิงยิ่งขึ้นทุกขณะ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
ทำไม Enron ล้มละลาย คำถามที่ยังไม่มีคำตอบ
เริ่มต้นด้วยความหยิ่งยโส แล้วตามด้วยความโลภ เสริมด้วยการหลอกลวง และสนับสนุนด้วยเล่ห์อุบายทางการเงิน
ผลที่ได้คือ การล่มสลายของบริษัท หนึ่ง ซึ่งเคยได้ชื่อว่าเป็นซูเปอร์สตาร์แห่งยุคเศรษฐกิจใหม่
นี่คือบทสรุปของนิตยสารชื่อดังอย่าง Fortune ที่มีต่อ Enron
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2545)