เบื้องหลังเฟิร์ส แปซิฟิคขายเบอร์ลี่ฯ เกมจบที่เจริญ สิริวัฒนภักดี
ตั้งแต่ต้นปี 2545 นี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท เบอร์ลี่ ยุค เกอร์
(BJC) ได้เปลี่ยนแปลงสิ้นเชิงจากเดิมของกลุ่มเฟิร์ส แปซิฟิคไปเป็น ของบริษัท
ที.ซี.ซี. ของเจริญ สิริวัฒนภักดี เจ้าของธุรกิจเหล้ากลุ่มสุราทิพย์และเบียร์ตราช้าง
รวมถึงเจ้าของอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ที่สุดราย หนึ่งของไทย ที่มีลักษณะการดำเนินธุรกิจแบบผูกขาดด้วยทุนขนาดใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2544)
First Pacific ทิ้ง BJC ต่างฝ่ายต่างได้
สำหรับ First Pacific Group ซึ่งเพิ่งฉลองครบรอบ 20 ปีไปเมื่อเดือนพฤษภาคม
2001 ที่ผ่านมา แม้ว่าจะมีจุดเริ่มต้นจากธุรกิจการเงิน ภายใต้ชื่อ First
Pacific Finance Limited ก่อนที่จะพัฒนาและสร้างเสริมแตกแขนงไปสู่ธุรกิจอื่นๆ
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา แต่ปรัชญาพื้นฐานขององค์กรที่ได้ชื่อว่าเป็น "นักล่าเหยื่อ"
ที่ชำนาญการแห่งนี้ไม่เคยเปลี่ยน แปลง เป็นปรัชญาง่ายๆ ว่าด้วย "การพัฒนามูลค่า"
ที่น่าสนใจยิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2544)
เบอร์ลี่ฯ-เฟิสท์ แปซิฟิค เกมส์นี้ยังไม่จบ
"เรื่องนี้ก็คือการเทคโอเวอร์ธรรมดา ๆ นั่นแหละ" ผู้สันทัดกรณีในวงการธุรกิจท่านหนึ่งให้ข้อสรุปกับ
"ผู้จัดการ" สำหรับการเข้ามาในเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ของเฟิสท์ แปซิฟิค
เอาไว้เช่นนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
FIRST PACIFIC นักซื้อกิจการที่หาเหยื่อในเอเชีย-แปซิฟิค
กลุ่มเฟิสท์ แปซิฟิค (FIRST PACIFIC-GROUP) อาจเป็นชื่อกลุ่มธุรกจิที่ไม่ค่อยคุ้นนักในหมู่กลุ่มธุรกิจในเมืองไทย
ด้วยเป็นกลุ่มบริษัทใหญ่จากฮ่องกงที่เข้ามาทำธุรกิจในบ้านเราได้ 2 ปีเศษเท่านั้น
ในนามบริษัท เฟิสท์ แปซิฟิค ซีเคียวริตี้ (ไทย) ที่ซื้อกิจการธุรกิจด้านหลักทรัพย์มาจากบริษัทหลักทรัพย์ศรีไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)