สบู่หอมนกแก้ว "เคียงคู่คนไทย"
"นกแกวเคียงคู่คนไทยเสมอมา และจะคงอยู่ตลอดไป"
คือแนวทางที่ชัดเจนในการทำตลาดตลอดระยะเวลา 55 ปีของสบู่หอมตรา "นกแกว" สบู่ไทยยี่ห้อแรก
ที่กำลังฝ่าป้อมปราการอันแข็งแกร่งของสบู่แบรนด์อินเตอร์
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2545)
ย้อนอดีต วอลเตอร์ ไมเยอร์ในเบอร์ลี่ ยุคเกอร์
ย้อนอดีตกลับไปในปี พ.ศ.2425 อัลเบอร์ต ยุคเกอร์ ชาวสวิตเซอร์แลนด์ ได้ร่วมกับชาวสวิสอีกคนหนึ่งชื่อ
เฮนรี่ ซิกก์ ก่อตั้งห้างยุคเกอร์ แอนด์ ซิกก์ แอนด์ โก ขึ้น เพื่อทำธุรกิจค้าขายสินค้าเบ็ดเตล็ด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2545)
120 ปี เบอร์ลี่ ยุคเกอร์..
เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ ถือได้ว่าเป็นสิ่งตกค้างทาง ประวัติศาสตร์ธุรกิจ Trading
Firm ชิ้นสุดท้ายที่มี อายุเก่าแก่ที่สุดถึง 120 ปี เป็นห้างฝรั่งที่ก่อตั้งใน
พ.ศ.2425 ชื่อบริษัท ยุคเกอร์แอนด์ ซิกก์ แอนด์ โก โดยอัลเบิร์ต ยุคเกอร์
ร่วมหุ้นกับ เฮนรี่ ซิกก์ เพื่อ เป็นตัวแทนขายสินค้าอุปโภคบริโภคต่างประเทศ
และเครื่องมืออุปกรณ์เดินเรือ (จากฉบับที่ 65 โดย ขุนทอง ลอเสรีวานิช)
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2545)
เบื้องหลังเฟิร์ส แปซิฟิคขายเบอร์ลี่ฯ เกมจบที่เจริญ สิริวัฒนภักดี
ตั้งแต่ต้นปี 2545 นี้ โครงสร้างผู้ถือหุ้นใหญ่ของบริษัท เบอร์ลี่ ยุค เกอร์
(BJC) ได้เปลี่ยนแปลงสิ้นเชิงจากเดิมของกลุ่มเฟิร์ส แปซิฟิคไปเป็น ของบริษัท
ที.ซี.ซี. ของเจริญ สิริวัฒนภักดี เจ้าของธุรกิจเหล้ากลุ่มสุราทิพย์และเบียร์ตราช้าง
รวมถึงเจ้าของอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่ที่สุดราย หนึ่งของไทย ที่มีลักษณะการดำเนินธุรกิจแบบผูกขาดด้วยทุนขนาดใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2544)
"ดีทแฮล์ม-เบอร์ลี่-อินช์เคปในสถานการณ์ "ไร้พรมแดน"
"ธุรกิจจัดจำหน่ายที่จะมีอนาคต ต้องมองตลาดแบบโลกาภิวัฒน์ มองเอเชียเป็นประเทศเดียว
ดังนั้นบริษัทที่ไม่มีความได้เปรียบในเรื่องเน็ตเวิร์กจะเสียเปรียบมาก"
นี่เป็นความเห็นของวิวัฒน์ กิตติพงษ์โกศล กรรมการผู้จัดการอีเอซี มาร์เก็ตติ้ง
เซอร์วิส ประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2538)
เบอร์ลี่ ยุคเกอร์ บนความเปลี่ยนแปลง
ปีที่แล้วเบอร์ลี่ ยุคเกอร์มีพนักงานรวมทั้งสิ้น 1,414 คน เพิ่มจากปี 2532
ขึ้นมาเพียง 2 คน ปีนี้สมาชิกใหม่ของบริษัทการค้าที่มีอายุนับได้ 109 ปี
แห่งนี้เพิ่มขึ้นมาใหม่อีก 1 คน พนักงานใหม่ล่าสุดเป็นเจ้าหน้าที่ระดับบริหารในตำแหน่งใหม่ล่าสุดที่ไม่เคยมีมาก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
เอลลา ยุคเกอร์ รุ่นสุดท้ายของยุคเกอร์ในไทย
ปฐมบทตำนานธุรกิจเบอร์ลี่ ยุคเกอร์เริ่มขึ้นใน พ.ศ. 2425 ในแผ่นดินพระพุทธเจ้าหลวง
เมื่ออัลเบิร์ต ยุคเกอร์บุตรชายคนเดียวของครอบครัวชนชั้นกลางแห่งเมืองวินเดอร์เธอร์
สวิตเซอร์แลนด์ร่วมกับเฮนรี่ ซิกก์ เพื่อนร่วมชาติก่อตั้งห้างยุคเกอร์ แอนด์
ซกก์ขึ้นมาเพื่อสั่งสินค้าเครื่องใช้ในครัวเรือนเข้ามาขายและส่งข้าว ไม้สักออกไปต่างประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
วอลเตอร์ ไมเยอร์ กับเวลาที่เหลืออยู่
บารมีของวอลเตอร์ ไมเยอร์ในเบอร์ลี่ ยุคเกอร์ยังดำรงอยู่ เมื่อภาพการแต่งตั้งกรรมการผู้จัดการใหญ่คนใหม่ปรากฏขึ้น
ซึ่งเป็น ดร.อดุลย์ อมติวิวัฒน์ ในขณะที่เฟิร์ส แปซิฟิค ผู้ถือหุ้นนายใหญ่ยังไม่มีปฏิกิริยาออกมา
เป็นสิ่งที่น่าสงสัยว่า สัญญาสุภาพบุรุษที่เฟิร์ส แปซิฟิคให้ไว้กับไมเยอร์ในการที่จะไม่เข้าไปก้าวก่ายการบริหารในเบอร์ลี่
ยุคเกอร์นั้นศักดิ์สิทธิ์เหนือผลประโยชน์จริงหรือ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)
เบอร์ลี่ฯ-เฟิสท์ แปซิฟิค เกมส์นี้ยังไม่จบ
"เรื่องนี้ก็คือการเทคโอเวอร์ธรรมดา ๆ นั่นแหละ" ผู้สันทัดกรณีในวงการธุรกิจท่านหนึ่งให้ข้อสรุปกับ
"ผู้จัดการ" สำหรับการเข้ามาในเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ของเฟิสท์ แปซิฟิค
เอาไว้เช่นนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)