บาห์เรน : แดนสวรรค์ของนักขุดทอง
ประเทศสุดท้ายของการท่องโลกอาหรับกับคณะการค้าไทย นำโดยปิยะบุตร ชลวิจารณ์
อดีตนายแบงก์ผู้พลิกผันมานั่งเก้าอี้ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
ก็คือ ประเทศบาห์เรน (Bahrain)
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
เบรุตวันนี้ฉายแววปารีสแห่งตะวันออก
แผนการเดินทางไปเปิดตลาดการค้ายังกลุ่มประเทศอาหรับของรัฐบาลไทยผุดขึ้นเป็นนโยบายของรัฐบาล
ในช่วงสงครามสหรัฐฯ ถล่มอิรักกำลังคุกรุ่น เมื่อเหตุการณ์สงครามยุติเพียงไม่กี่วันก็สั่งเดินหน้าทันที
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ทางออกที่ตีบตันของสหธนาคาร
ปิยะบุตรและบรรเจิด ชลวิจารณ์ 2 พ่อลูกกำลังปวดหัวอยู่กับการหาทางออกให้แบงก์สามารถ เพิ่มทุนอีก 8 ล้านหุ้น แต่ฝ่ายพันธมิตรเอบีซีซึ่งถือหุ้นอยู่ 41% คัดค้าน เนื่องจาก "ชลวิจารณ์" ทั้งสองยังไม่สามารถเจรจาตกลงยุติปัญหาหุ้นจำนวน 500,000 หุ้น ของเอบีซีที่ถูกอายัดและฟ้องร้องกันในศาลได้ สงครามเทคโอเวอร์ของกลุ่มผู้ถือหุ้นยังดำเนินต่อไปโดยมีสถานการณ์ของธุรกิจธนาคารเป็นฉาก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
สงครามยึดแบงก์สหธนาคาร
เกมการช่วงชิงอำนาจบริหารที่สหธนาคารเริ่มปะทุมาตั้งแต่เมื่อต้นปี 2528
แต่เหตุการณ์ไม่ได้รุนแรงจนถึงขั้นแตกหัก ทั้งนี้เพราะได้มีการประนีประนอมจัดสรรแบ่งอำนาจกันได้ระดับหนึ่ง
แต่นับจากวันนั้นเรื่อยมาทุกฝ่ายก็รู้กันเป็นนัยว่า ในไม่ช้าจะต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ขึ้นเป็นแน่
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)
NEW GENERATION อยากให้ปิยะบุตร-เศรณี-กรพจน์ จับมือกัน
สหธนาคารเป็นธนาคารที่เหลือไม่กี่แห่งที่บริหารงานโดย GENERATION เดียว เหตุผลหนึ่งที่น่ากล่าวถึง คือ บรรเจิด ชลวิจารณ์ และชำนาญ เพ็ญชาติ ผู้ถือหุ้นใหญ่
(ที่มีเหตุผลชอบธรรม) บริหารธนาคารนี้ปัจจุบันทายาทของตระกูลอายุน้อยเกินไป
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2529)