สังสรรค์ผู้บริหารทรัสต์ 4 เมษา ที่ผิดพลาดพลั้งไป...อภัยด้วย
เย็นวันนั้นวันที่ 23 มกราคม 2530 ที่ภาคบ่ายมีการประชุมร่วมระหว่างเจ้าหน้าที่กระทรวงการคลัง,
แบงก์ชาติและคนจากธนาคารกรุงไทย รัฐมนตรีคลังสุธี สิงห์เสน่ห์ นั่งเป็นประธานคู่กับ
ดร. ศุภชัย พานิชภักดิ์ รัฐมนตรีช่วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
"บุญชู"-"ศุภชัย" ดวลฝีปากกลางสภา
4 กันยายน 2529 ภายในอัครสถานอันทรงเกียรติแห่งรัฐสภาวันนั้นเป็นวันนัดประชุมของเหล่า
ส.ส. 347 คน ซึ่งเพิ่งได้รับการเลือกตั้งเข้ามาได้เพียงเดือนเศษ ๆ เช่นเดียวกับรัฐบาลเปรม
5 ก็คลอดออกมาเป็นตัวเป็นตนได้ไม่ครบเดือนดี
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
ตำแหน่ง รมว. คลัง/ถึงคิวของ TECHNOCRAT แล้ว!
ตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง เป็นตำแหน่งที่นักการเมืองต่างกล้าๆ กลัวๆ ในการที่จะเข้ามารับผิดชอบ อาจจะเป็นเพราะในอดีตที่ผ่านมาพรรคการเมืองไทยขาด
TECHNOCRAT ที่เชี่ยวชาญในเรื่องการเงินการคลังอย่างแท้จริง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2529)
สงครามวาทะที่สมาคมแบงก์ซดกับธนาคารชาติ-สนุกกว่าฟังโต้วาที
บ่อยครั้งที่การอภิปรายออกมาที่เกือบจะเป็นการโต้วาที เมื่อใดที่มีการอภิปรายทำนองนี้คนฟังมักจะเป็นฝ่ายสนุกสนานเฮฮา
แต่คนพูดไม่แน่ว่าจะสนุกไปด้วย ยิ่งคนพูดฝ่ายหนึ่งเป็นตัวแทนจากแบงก์ชาติ
กับอีกฝ่ายหนึ่งเป็นตัวแทนสมาคมธนาคารไทยและบริษัทเงินทุน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2529)
ใครโกหกใครกันแน่?
เมื่อมีการลดค่าเงินบาทออกมาต่างฝ่ายต่างก็ชี้หน้าอีกฝ่ายว่า "ไหนบอกว่าปีนี้จะไม่ลดค่าเงินบาท?"
อีกฝ่ายหนึ่งก็เถียงคอเป็นเอ็นว่า "ไม่เคยพูดเช่นนี้"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2527)
“ไม่มีวันฝันสลาย” หยุดฝันเมื่อไหร่ ก็ตายเมื่อนั้น
และความโอ่อ่ากว้างขวางและเงียบสงบนี้ได้ถูกแปรเปลี่ยนเป็นคับแคบและอึกทึกคึกโครมอย่างพลิกฝ่ามือในทันที เมื่อผู้ถือตั๋วสัญญาใช้เงินของพัฒนาเงินทุนและบ้านที่ดินไทยกว่า 300 คน พร้อมใจกันนัดชุมนุมพล เมื่อยามเช้าจรดเที่ยงของวันที่ 23 พฤศจิกายนที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2526)
สถาบันประกันเงินฝาก เพื่อสุขภาพจิตของธนาคารชาติ
มันไม่ใช่เรื่องที่ลึกซึ้งอะไรนักหรอก นอกจากว่าฝ่ายหนึ่งคือธนาคารชาติ กำลังไข้ขึ้นอย่างหนักกับปัญหาของทรัสต์ล้ม และต้องรีบหายาดมเข้าช่วยทุกครั้งที่ผู้ถือตั๋วเงินเดินขบวนมาเรียกร้อง ส่วนอีกฝ่ายหนึ่งคือกระทรวงการคลังที่มีสมหมาย เป็นผู้ตัดสินใจอยู่คนเดียว ไม่มีนโยบายแน่ชัดออกมาให้ธนาคารชาติดำเนินการในเรื่องการแก้ปัญหานอกจากการใช้วิธี ปุจฉาวิสัชนาแบบอิกคิวซังท่าเดียว แล้วก็ยังไม่ยอมพูดด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2526)