อนาคตประเทศไทย
บรรยากาศงานสัมมนาภายใต้หัวข้อ CEO Forum at BOI Fair 2011 เมื่อกลางเดือนมกราคม ได้รับความสนใจจากผู้บริหารทั้งไทยและต่างประเทศ โดยเฉพาะอนาคตของประเทศไทยจะเป็นอย่างไร ในการบริหารจัดการน้ำ รวมถึงโอกาสในภูมิภาคอาเซียน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กุมภาพันธ์ 2555)
"ทำไม! กองทัพในแบงก์ทหารไทยไม่มีวันแยกจากไปเด็ดขาด"
"แบงก์ทหารไทยกำลังตกอยู่ในภาวะวิกฤติศรัทธาจากแรงผลักของพฤษทมิฬ นับจาก
พ.ศ. 2500 ถึงปัจจุบัน แบงก์ทหารไทยเพิ่มทุนไปแล้ว 10 ครั้ง ครั้งสำคัญที่ทำให้สัดส่วนถือหุ้นกองทัพลดลงคือปี
2526
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ศุภชัย พานิชภักดิ์ "ไม่มีใครเข้าใจผม"
"ผมไม่มีทางพูดอะไรเป็นเรื่องบวกได้เลยในช่วงหน้าสิ่วหน้าขวานไม่ว่าอาจารย์วีรศักดิ์จะไปพูดเรื่องเปลี่ยนชื่อ
หรือแบงก์ชาติจะออกมาพูดอะไรก็ตาม เขาจ้องอยู่ทุกฝีก้าว" เจ้าของคำพูดกล่าวด้วยสีหน้าเหนื่อยหน่าย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
"ชื่อนั้น สำคัญฉะนี้ !!!"
ชื่อนั้น สำคัญไฉน ? เป็นคำถามที่ถามกันมานานสำหรับคนที่ไม่ยึดถือรูปนาม
แต่สำหรับแบงก์ทหารไทย ณ วันนี้คงจะรู้แล้วว่า "นาม" นั้นสำคัญแค่ไหน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
กระดานนี้ไม่ง่ายที่จะชนะ
ทันทีที่ศุภชัยเข้าสวมตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่แบงก์ทหารไทย เขาได้ทำการเปลี่ยนแปลงหลายสิ่งหลายอย่างในแบงก์แห่งนี้มากมายกว่ายุคใด ๆ เขามีเป้าหมายชัดเจน ที่จะนำแบงก์นี้สู่การเติบโตอย่างระมัดระวัง มีเงินกองทุนที่เข้มแข็ง ขณะเดียวกัน ก็จ่ายเงินปันผลแก่ผู้ถือหุ้นสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทุกปี เป้าหมายนี้ท้าทายฝีมือการบริหารของเขามากว่าจะทำอย่างไร ภายใต้ธรรมชาติที่แบงก์นี้เป็นกึ่งราชการทหารกึ่งเอกชน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
เมื่อธนาคารทหารไทยอ้าแขนรับ 'คนนอก'อีกครั้ง
7 กันยายน 2531 ธนาคารทหารไทยทำการปรับโครงสร้างการบริหารครั้งใหม่ล่าสุด
ทั้งที่ 2 เดือนก่อนหน้านั้นก็เพิ่งจะมีการปรับปรุงไปหยกๆ ว่ากันว่าการปรับครั้งล่าสุดทำให้โครงสร้างการบริหารพลิกผันไปจากเดิมอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)
ศุภชัย พานิชภักดิ์ เดินหมากผิดตาเดียวผลมหาศาล
อายุ 42 ปี สำเร็จปริญญาเอกทางด้านเศรษฐศาสตร์จากมหาวิทยาลัยมีชื่อเสียงของเนเธอร์แลนด์ เป็นลูกศิษย์นักเศรษฐศาสตร์เจ้าของรางวัลโนเบล ศาสตราจารย์แจน ทินเบอร์เกน เคยสอบเข้าเรียนแพทย์ได้เมื่ออายุเพียง 16 เป็นนักเรียนทุนของแบงก์ชาติ เคยดำรงตำแหน่งในแบงก์ชาติสำคัญ ๆ หลายตำแหน่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
โครงการ 4 เมษา สูตรผสมโหด-เลว-ดี ที่ยังอยู่ในห้องทดลอง?
ลักษณะพิเศษของโครงการ 4 เมษายนนั้น นอกจากความฉุกละหุกแล้ว ประการสำคัญเห็นจะอยู่ที่ความเป็นสูตรผสมของวัฒนธรรมการคลี่คลายปัญหาแบบไทย
ๆ ที่มีหลายอารมณ์และมีความเป็นสุภาพบุรุษที่ยืดได้หดได้ บางครั้งก็โหด บางครั้งก็ไม่ค่อยจะดีนัก
แต่ก็จบลงด้วยความสบายใจของทุกฝ่ายยิ่งกว่าหนังไทยเสียอีก และไม่แน่นักอาจจะมีภาค
2 ภาค 3 ต่อไปอีกหากผู้ชมเรียกร้อง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)