"จาติกวนิช" ในเอสโซ่
ถือเป็นครั้งแรกในรอบหลายปี ที่บริษัทน้ำมันข้ามชาติขนาดใหญ่อย่าง ExxonMobil ได้ออกหมายเชิญสื่อมวลชนทั้งโทรทัศน์และสิ่งพิมพ์ ให้เข้าร่วมฟังการบรรยายสรุปในหัวข้อ "Outlook for Energy : 2020 View" ที่ได้จัดขึ้น ณ โรงกลั่นน้ำมันเอสโซ่ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคมที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
เอสโซ่เสือติดปีก
หลังจากที่เชลล์เข้ามาดำเนินธุรกิจ ในประเทศไทยได้เพียง 2 ปี ค่ายน้ำมันยักษ์
ใหญ่อย่างเอสโซ่ ประเทศไทย ก็ถือกำเนิดขึ้น เมื่อปี 2437
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
"เบนซินไร้สารตะกั่ว HCFC-123 และ HFC-134a ตัวการสำคัญช่วยลดมลพิษในอากาศ
85% ของปริมาณสารตะกั่วในเขตกทม. ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดมลภาวะมาจากการใช้น้ำมันเบนซินชนิดที่มีสารตะกั่ว
และการลดลงของปริมาณก๊าซโอโซนในชั้นบรรยากาศเกิดจากการใช้สาร CFC ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดความเย็น
วิธีที่จะช่วยลดมลพิษของโลกได้ก็ด้วยการใช้สารทดแทนอื่นๆ คือ เบนซินไร้สารตะกั่ว
HCFC-123 และ HFC-134a
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
ทำไม"เอสโซ่"จึงยอมเสีย70ล้านบาท
"เอสโซ่เป็นบริษัทน้ำมันที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งในไทย ถูกปรับ 70 ล้านบาท
เพราะกลั่นน้ำมันเกินกว่าที่จะได้รับอนุมัติจากกระทรวงอุตสาหกรรม แต่เอสโซ่กลับเจรจาขอจ่ายเป็นเงินบริจาค
เพราะอ้างว่าทำไปเพื่อสนองนโยบายของรัฐ แต่ดูเหมือนว่าจะไม่มีใครเชื่อ และกลับคิดว่านี่เป็นกลยุทธ์ใหม่ของเอสโซ่ต่างหาก..!
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2535)
3 ค่าย 3 กลยุทธ์โรงกลั่นเอสโซ่ถือไฟเหนือกว่าใคร
ปี 2534 ถือว่าเป็นปีแห่งโรงกลั่น…!!!
เมื่อวันที่ 30 ตุลาคมเชลล์นำโดย ม.ร.ว.สฤษดิคุณ กิติยากรประเดิมเซ็นสัญญาสร้างโรงกลั่นแห่งใหม่
ชนิดที่เรียกว่าตกลงกันได้แบบหวุดหวิดก่อนที่จะถูกยึดเงินประกัน 400 ล้านบาทในวันที่
2 พฤศจิกายน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
ปตท. ผู้เป็นทั้งกรรมการและผู้เล่น
"เราต้องแข่งขันกับบริษัทต่างชาติต้องทำงานเหมือนกับเขา วิธีเดียวที่จะแข่งกับเขาได้
คือ ต้องเหมือนเขา เราต้องหารออกมาเลยว่า เราขายเท่าไร คนหนึ่งสามารถทำผลงานให้ได้เท่าไหร่
นึกภาพว่าเราต้องปรับคนของเรา ต้องรู้เขารู้เรา เราต้องรู้ว่าต้นทุนต่อหน่วยของเราเป็นเท่าไหร่
ต้นทุนต่อหน่วยของเขาเป็นเท่านี้ ทำไมของเราสู้เขาไม่ได้ ทำอย่างไรของเราจึงจะมีประสิทธิภาพ…
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
ความลำบากของเศรษฐี" เมื่อเอสโซ่พัฒนาระบบโอเอในไทย
"ขณะนี้ในหน่วยงานสำคัญๆ ของเราจะต้องมีจอ 2 จอ อันนี้ก็เป็นความลำบากของเศรษฐี
(อย่างเอสโซ่) อย่างหนึ่ง คือจอหนึ่งสำหรับเอาข้อมูลจากคอมพิวเตอร์มาอีกจอหนึ่งสำหรับส่งข้อมูลไป"
พิสิษฐ์ จิรภิญโญ รองผู้จัดการฝ่ายจัดส่งวิศวกรรม บริษัท เอสโซ่ สแตนดาร์ดประเทศไทย จำกัด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2529)
เมื่อผู้ค้าน้ำมันยอมควักกระเป๋ารักษาส่วนแบ่งของตลาดไว้
เมื่อเศรษฐกิจไม่ดี ยอดขายลดลง ผู้ค้าน้ำมันอย่างคาลเท็กซ์และเอสโซ่ต้องยอมควักกระเป๋ามาจัดรายการส่งเสริมการขายด้วยการแจกแถม ผลปรากฏว่าทั้ง 2 เจ้าประสบผลสำเร็จทำให้ยอดขายกระเตื้องขึ้นถึง 10-20 เปอร์เซ็นต์
ส่วนเชลล์ยังคงนิ่งเฉยรอดูท่าทีคู่แข่งอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
ความรู้คือประทีป
"มันเริ่มมาจากที่เราได้ดูเรื่อง Boat People ของ CBS เราเห็นว่ารายการของต่างประเทศเป็นรายการดีๆ
ให้ความรู้แก่ประชาชนทำให้เราคิดว่าเราน่าจะทำรายการนี้ให้แก่ประชาชนดูบ้างสักรายการหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2528)