"สงครามเฉือนคมโตโยต้า-ฮอนด้า"
การออกรถใหม่สองรุ่นของสองค่ายรถยนต์ชั้นนำเมื่อเร็วๆ นี้ เป็นอีกปรากฎการณ์หนึ่งที่แสดงถึงการตัดสินใจแบบ
"คมเฉือนคม" อย่างชัดเจน โตโยต้าครองความยิ่งใหญ่ในตลาดรถยนต์นั่งเมืองไทยมาโดยตลอด
เป็นเวลา 15 ปีมาแล้วที่ไร้คู่ทัดเทียม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2538)
เจ้าตลาดจักรยานยนต์คนใหม่ เกษม ณรงค์เดช
จักรยานยนต์ไทย ที่สี่ของโลก อุตสาหกรรมการผลิต และประกอบรถจักรยานยนต์ในประเทศไทย อาจกล่าวได้ว่าเข้มแข็งมากแห่งหนึ่งของโลกด้วยตลาดในประเทศที่มารองรับมากกว่าปีละหนึ่งล้านคัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
"ฮอนด้า" ปรับเครื่อง ท้าแข่งทุกค่าย
การที่ฮอนด้า คาร์ส นำรถซีวิค 3 ประตู ออกมาทำตลาดเมื่อเร็ว ๆ นี้ด้วยการตั้งราคาที่ไม่มีใครคาดว่าจะเป็นไปได้เป็นการ
"เขย่า" ตลาดรถยนต์เมืองไทยครั้งใหญ่ ในสถานการณ์ที่ตลาดเป็นของผู้ซื้อ
การแข่งขันของผู้ผลิตรถยนต์เป็นไปอย่างเข้มข้น ด้วยกลยุทธ์ทุกรูปแบบ รถ 3
ประตู ราคาต่ำกว่า 4 แสน ในตลาดที่ไม่เคยมีใครแจ้งเกิดได้ เบื้องหลังหมากการตลาดตานี้
ฮอนด้าคิดอะไรอยู่ ???
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2536)
"แล้วการค้าสิทธิใบจองฮุนไดก็จะเกิดขึ้น คอยดู"
เมื่อ 3-4 ปีที่ผ่านมาเคยมีข่าวครึกโครมเกี่ยวกับการขายใบจองรถฮอนด้าทั้ง
2 รุ่นไม่ว่าจะเป็น ฮอนด้า ซีวิค หรือฮอนด้า แอคคอร์ดก็ตาม ซึ่งรถฮอนด้าทั้ง
2 รุ่นนี้จัดได้ว่าเป็นรถชั้นดี มีสมรรถนะเป็นเยี่ยม จนต่างเป็นที่กล่าวขวัญในหมู่ผู้ใช้รถเป็นอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
ฮอนด้า มอเตอร์ยิ่งสูงยิ่งเหน็บหนาว
ความสำเร็จและเติบโตอย่างรวดเร็วของฮอนด้า จนกลายเป็นศูนย์กลางของประวัติศาสตร์การพัฒนารถยนต์และจักรยานยนต์ในระยะเวลาเพียง
4 ทศวรรษเป็นเรื่องน่าทึ่งฉันใด ? ความสำเร็จของรถยนต์ฮอนด้าในตลาดรถยนต์เมืองไทยที่ใช้เวลาเพียงไม่กี่ปีแม้เป็นเรื่องเหลือเชื่อก็ต้องเชื่อกันไปแล้วจริง ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2532)