สยามกลการหมดยุคถาวรหรือ "พรประภา"?
สัญญาณการเปลี่ยนแปลงบางประการเกิดขึ้นกับกลุ่มสยามกลการมานานพอสมควรแล้ว
เพียงแต่วิเคราะห์กันไม่ออกเท่านั้นว่า จะเปลี่ยนไปในรูปไหนได้แต่คาดเดากันไปหลายทิศหลายทางจนเมื่อวันที่
16 ตุลาคม 2529 พร้อมๆ กับการเข้ามาของนุกูล ประจวบเหมาะ และการประกาศวางมือของถาวร
พรประภา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
ทำไมต้องเป็น นุกูล ประจวบเหมาะ
นุกูล ประจวบเหมาะ เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2472 อายุ 57 ปี (ปี
2529) พื้นเพเดิมเป็นคนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จบการศึกษาชั้น ม.8 ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้ามน้ำข้ามทะเลไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย คว้าปริญญาตรีพาณิชย์ศาสตร์บัณฑิตกลับมาเมื่อปี
2495
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
ตลาดรถยนต์ทรุดสยามกลการหกคะเมน
ปี 2529 เป็นปีที่ภาวะการค้ารถยนต์ตกต่ำมากๆ คือ ต่ำยิ่งกว่าปี 2528 ที่ว่ากันไว้เมื่อต้นปีนี้ว่าตกต่ำที่สุดแล้วถึง
1,100 คันต่อเดือนโดยถัวเฉลี่ย หรือลดลงอีกประมาณ 15 เปอร์เซ็นต์ต่อเดือนทีเดียว
เฉพาะอย่างยิ่งรถบรรทุกและรถบัสยอดการจำหน่ายลดลงประมาณ 1,000 คันและรถยนต์นั่งยอดการจำหน่ายลดลง
100 คันต่อเดือน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
ถาวร พรประภา คนที่มีทั้งโชคดีและโชคร้าย
"เส่งซิม เส่งอี่" อ่านได้จากหนังสือจีนสี่ตัวมีความหมายว่า "จริงใจต่อกัน"
ถาวร พรประภา เมื่อหนุ่มๆ เดินทางไปเจรจากับผู้บริหารบริษัทนิสสันมอเตอร์ที่ประเทศญี่ปุ่นเขายังไม่รู้ภาษาอังกฤษจึงต้องอาศัย
เฉลิม เชี่ยวสกุล เป็นล่ามให้ การเจรจาของถาวรนั้นเขาได้ช่วยเปิดประตูการค้าต่างประเทศให้กับนิสสันมอเตอร์ด้วยการส่งรถจำนวน 60 คันเข้ามาขายในประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
พิลาศพงษ์ ทรัพย์เสริมศรี จอมยุทธ์ที่ต้องพเนจรอีกครั้ง
เมื่อปลายปี 2525 พิลาศพงษ์ถูกดำหริ ดารกานนท์ กับ ดร.อำนวย วีรวรรณ ผู้บริหารใหญ่แห่งเครือสหยูเนียนดึงตัวมาเป็นที่ปรึกษาด้านคอมพิวเตอร์ ครั้นสหยูเนียนก่อตั้งบริษัท คอมพิวเตอร์ยูเนียนแล้วก็เลยมีการมอบตำแหน่งกรรมการผู้จัดการให้กับพิลาศพงษ์
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลรถปิกอัพต้องชั่งน้ำหนักข้อดีข้อเสียให้รอบคอบ
โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลสำหรับรถปิกอัพเป็นโครงการที่มีข้อดีตรงที่ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศและการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่จะมีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมโลหการของไทย
แต่มันเหมาะสมแล้วหรือที่คนไทยอาจจะต้องซื้อรถปิกอัพใช้ในราคาที่สูงขึ้นอย่างน้อย
10-20% จากต้นทุนของเครื่องยนต์ดีเซล "เมดอินไทยแลนด์"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)
ตลาดรถหดลง 30% แต่โตโยต้าธนบุรีหดแค่ 10%
"ปีนี้ตลาดรถยนต์จะอืดมาก ของผมนี่หดไปกว่า10 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที่ตลาดรถยนต์โดยทั่วไปหดไปประมาณ
30 เปอร์เซ็นต์" คนพูดคือบัญชา ภาณุประภา กรรมการผู้จัดการบริษัทโตโยต้าธนบุรี เอเย่นต์จำหน่ายโคโรล่าแห่งหนึ่งของโตโยต้า
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)