Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ47  
Positioning4  
ผู้จัดการรายวัน83  
ผู้จัดการรายสัปดาห์6  
PR News153  
Web Sites1  
Total 288  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ธนาคารนครหลวงไทย, บมจ.


นิตยสารผู้จัดการ (21 - 30 of 47 items)
มงคล กาญจนพาสน์ ตลอด 20 ปีของนิตยสารผู้จัดการ ได้บันทึกประวัติศาสตร์ชีวิตธุรกิจชาวจีนโพ้นทะเลอย่าง "อึ้ง จือ เม้ง" หรือ "มงคล กาญจนพาสน์" และลูกๆ ไว้ตลอดในแต่ละความเคลื่อนไหวที่สำคัญของเขา นับจากครั้งแรกในนิตยสารผู้จัดการ ฉบับที่ 2, 9 และ ฉบับที่ 21 เดือนพฤษภาคม 2528 ในเรื่องปก "ศึกชิงสำนักน่ำไฮ้"(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
รวมศรีนคร-นครหลวงไทย เพื่อขยาย-ขายธุรกิจ ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายนเป็นต้นมา ชื่อของธนาคารศรีนคร ได้หายไปจากสารบบของธนาคารพาณิชย์ไทย จากการตัดสินใจของทางการ โดยกระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย ให้ยุบไปรวมกับธนาคารนครหลวงไทย เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาของระบบธนาคารพาณิชย์ให้เสร็จสิ้นลงไป เพราะตั้งแต่เริ่มเกิดวิกฤติทางการเงินเมื่อเกือบ 5 ปีก่อน ในระบบธนาคารพาณิชย์ ยังเหลืออยู่อีกเพียง 2 แห่งคือ ศรีนคร และนครหลวงไทยเท่านั้น ที่ยังมีปัญหาอยู่(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
4 ขุนพลใหม่แบงก์นครหลวงไทย อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ เริ่มเข้ารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ที่ผ่านมา(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2544)
จุดขายใหม่ แบงก์นครหลวงไทย หลังเข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการ ธนาคารนครหลวง ไทย คนใหม่ได้เพียงไม่กี่วัน อภิศักดิ์ ตันติวรวงศ์ ก็ได้ประกาศนโยบายอย่างชัดเจนออกมาเลยว่า เขาจะปรับบทบาทของธนาคารในช่วงนับจากนี้เป็นต้นไป ให้เน้นการทำธุรกิจรีเทล แบงกิ้ง เป็นจุดขายหลัก(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
จุดจบแบงเกอร์ไทย โฉมใหม่อุตสาหกรรมธนาคาร 14 สิงหาคม เป็นวันที่หลายคนรอคอยอย่างใจจดใจจ่อ แม้จะมีข้าวแพลมออกมาเป็นระยะๆ เกี่ยวกับมาตรการแก้ไขปัญหาของสถาบันการเงินที่ไม่สามารถเพิ่มทุนได้ด้วยตัวเอง และแนวทางการดำเนินการธนาคาร 4 แห่ง ที่รัฐบาลประกาศเข้ายึดอำนาจการบริหารและการถือหุ้นเมื่อ 23 ม.ค. (ธ.ศรีนคร) และ 6 ก.พ. 2541 (ธ.นครหลวงไทย, ธ.มหานคร และ ธ.กรุงเทพฯ พาณิชย์การ) แต่ปฏิบัติการจริงๆ เริ่มได้หลังเจรจาปรึกษากับเจ้าที่ไอเอ็มเอฟและเอดีบี - เจ้าของเงินกู้รายใหญ่ของประเทศไทยตอนนี้(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2541)
"บลจ. ใหม่ค่ายแบงก์นครหลวง มั่นใจเต็มร้อยเปิดกองทุนหุ้น" ระยะ 1-2 ปีให้หลังมานี้ บรรดาบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนรวม (บลจ.) ทั้งหลายต่างหันมาให้ความสนใจออกกองทุนตราสารหนี้กันอย่างคึกคัก เนื่องจากภาวะตลาดหลักทรัพย์ไม่เอื้ออำนวย แต่ตลาดตราสารหนี้ยังมีอนาคต ยังพอทำตลาดได้อยู่ โดยเฉพาะในหมู่นักลงทุนสถาบัน(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
การฟื้นตัวของนครหลวงไทยฝีมือหรือทางการช่วยกันแน่ ธนาคารนครหลวงไทยประสบปัญหาวิกฤตจนถูกแบงก์ชาติสั่งลดทุนให้เหลือเพียงหุ้นละ 5 บาท แม้กระนั้นก็ยังขาดทุนสะสมอยู่ถึง 1,000 กว่าล้านบาท ดร.สม จาตุศรีพิทักษ์ ซึ่งแบงก์ชาติขอให้เข้ามาช่วยกู้เรือลำนี้ใช้เวลาเพียง 3 ปีมีตัวเลขกำไรสะสมถึง 132 ล้านบาท(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2533)
"ดร. สม จาตุศรีพิทักษ์ "นกบินสูงได้เอง…อาจไม่มีลมส่ง?" ต้องนับว่าเป็นความกล้าหาญของ ดร. สม จาตุศรีพิทักษ์ ที่เข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารนครหลวงไทย เมื่อปลายเดือนมีนาคม 2530 ยอมทิ้งตำแหน่งกรรมการรองผู้จัดการเบอร์ลี่ยุคเกอร์ ทั้งที่ถ้าอยู่ต่อไปโอกาสที่จะได้เป็นหมายเลขหนึ่งของที่นี่ก็อยู่ไม่ไกล(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
แบงก์นครหลวงไทยเริ่มลงตัวแล้ว รายงานข่าวการประชุมผู้ถือหุ้นเมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2530 ซึ่งมีผู้ถือหุ้นเข้าประชุมกว่า 200 คนเพื่อเลือกคณะกรรมการและกรรมการบริหารของธนาคารนั้น เห็นได้ชัดว่า กลุ่มตระกูลมหาดำรงค์กุล ที่ว่ายอมปล่อยมือ เพื่อธนาคารจะได้ไม่เจ๊งนั้น ที่แท้จริงแล้วเป็นการวางมืออย่างเสียไม่ได้เท่านั้นเอง(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2530)
"นายแบงก์คนใหม่ ชื่อ "เสี่ยเล้ง"?มังกรโดดเดี่ยวที่อยากเป็นสุภาพบุรุษ" ในบรรดาผู้ถูกกล่าวอ้างว่าได้กลายเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ของธนาคารนครหลวงไทยยุคยกเครื่องนั้นชื่อ เจริญ พัฒนดำรงจิตร์ ออกจะสร้างความแปลกใจแก่หลาย ๆ คนเป็นอย่างมากว่าคนผู้นี้เป็นใครมาจากไหน มีประวัติความเป็นมาอย่างไร จึงหาญกล้าตีปีกเข้าประกบและอาจดูโดดเด่นกว่าเจ้าสัวบางคนเสียอีก(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2530)

Page: 1 | 2 | 3 | 4 | 5





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us