The Realistic Way
Universal Banking เป็นคำนิยามที่หลายๆ แบงก์ให้ความหมายไว้ว่า การให้บริการการเงินแบบครบวงจร มีบริการทุกประเภทให้กับทุกคน ทว่า ความหมายดังกล่าวในมุมความคิดของ "สุพล วัธนเวคิน" ธนาคารเกียรตินาคิน กลับให้คำนิยามนี้ว่า มีผลิตภัณฑ์ทุกประเภท แต่ให้บริการได้เฉพาะบางคน
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2551)
สุพล วัธนเวคิน The Owner
"ผมได้รับคำถามตั้งแต่วันแรกที่ทำงานจนถึงทุกวันนี้ คุณจะอยู่รอดได้อย่างไร แม้คนแบงก์ชาติก็ยังถามผมเลยว่า คุณรอดมาได้อย่างไร ผมบอก ก็เดินไปเฉยๆ เรื่อยๆ เหมือนพนักงานก็จะเดินมาถาม เราจะรอดมั้ย ผมบอกว่าถ้าทั้งวันเราคุยกันแต่คำนี้ ไม่รอดแน่ ฉะนั้นกลับไปทำงานเถอะ ทำดีมันก็รอด ทำไม่ดีมันก็ไม่รอด"
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2551)
"เกียรตินาคินจับมือ BZW เตรียมรับมือ ตลาดทุนเสรี"
ไม่มีคำว่าสายเกินไปสำหรับการตกลงทางธุรกิจ !!
นี่คือนัยที่สุพล วัธนเวคิน ประธานกรรมการบริหาร บงล. เกียรตินาคินกล่าวกับ
"ผู้จัดการ" ในวันที่มีการเปิดตัวเรื่องสัญญาการบริการทางเทคนิค
(TECHNICAL SERVICES AGREEMENT) ระหว่างเกียรตินาคินกับบริษัทหลักทรัพย์
BZW ในลอนดอนซึ่งเป็นบริษัทในเครือของธนาคาร BARCLAYS แห่งอังกฤษ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
โครงการใหญ่ๆ แบบนี้ไม่มีฟลุ้คหรอก
เมื่อเกือบ 4 ปีที่แล้วสองตระกูลการค้าหันมาจับเรื่องที่ดินเพื่อสร้างศูนย์การค้าครั้งแรก
มาปีนี้หลังจากที่ต้องเคี่ยวกรำกับปัญหาต่างๆ อมรินทร์พลาซ่าก็กำลังเป็นรูปเป็นร่างขึ้นมา
และพร้อมจะเปิดตัวในเดือนธันวาคมนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2527)
คลื่นลูกหลังไล่คลื่นลูกแรก
อมรินทร์ เดเวลล้อปเม้นท์ เป็นการร่วมทุนของสองตระกูลที่เคยคบกันมานาน
ผ่านปัญหาอุปสรรค และความสุขกันเป็นเรื่องทดสอบน้ำใจพอสมควร
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2527)
พระราชกำหนดใหม่ ถึงยุค “ลงแส้” สถาบันการเงิน
เมื่อวัดดูความเข้มข้นของมาตรการต่างๆ ที่กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย จัดออกมารับมือสถานการณ์ระส่ำในแวดวงบริษัทการเงินประดามีตั้งแต่ขั้นเบาะๆ จนถึงขั้นเฉียบขาดที่สุด (ในขณะนี้) โดยออกเป็นพระราชกำหนดใหม่แล้ว คำว่า “ลงแส้” สถาบันการเงินย่อมก่อให้เกิดจินตภาพตรงตามความเป็นจริงไม่มีปัญหา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2527)