6 ปีที่ผ่านไป
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เป็นสองลูกหนี้ที่ดำรงบทบาทอย่างมีสีสันมาก
ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์
ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
I shall Return
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เชื่อมั่นเสมอว่า ชีวิต และการทำงาน ก็เหมือนกับพระอาทิตย์
คือมีทั้งขึ้นและตก แต่หลังจากพระอาทิตย์ของเขาตกลงครั้งล่าสุด เขาต้องใช้เวลารอนานเกือบ
6 ปี กว่าที่แสงสีทองจะปรากฏขึ้นมาบนขอบฟ้า ให้เขาได้มองเห็นอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
The Biggest Deal ธุรกิจไทย (ด้วยกัน)
การเกิดขึ้นของมิลเลนเนียมสตีล ถือเป็นกรณีประวัติศาสตร์ของ การรวมกิจการของอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ในประเทศไทย
ที่ได้บทสรุปอย่างนุ่มนวลที่สุด ทั้งๆ ที่แต่ละฝ่าย ล้วนมีบุคลิกที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2546)
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ถอยหนึ่งก้าว เพื่อซื้ออนาคต!?
คำประกาศข้างต้นอาจจะไม่ฮือฮาเท่ากับคำที่เคยประกาศว่า "ไม่มี ไม่หนี ไม่จ่าย"
แต่คำประกาศนี้น่าจะเป็นการสรุปบทเรียนการกู้ซากธุรกิจของสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง
ที่จวนเจียนจะยุติลงได้ในอีกไม่กี่วันข้างหน้านี้ หลังจากที่เขาได้บทเรียนมาหลายเรื่องในการเจรจาปรับโครงสร้างหนี้ของเขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2542)
สวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ความสำเร็จกับความอยู่รอด จะเลือกทางไหน
เขามาไกลเหลือเกิน เกินกว่าจะหยุดยั้ง อดีตคลุกคลีอยู่กับนักเลง เซียนพนัน
แล้วพลิกผันสู่นักธุรกิจจนบรรลุขั้นสุดยอดแห่งความมั่งคั่งสมบูรณ์จนไต่เต้าสู่ฐานะอันเด่น
และเต็มไปด้วยอำนาจที่เขาสรรค์สร้างขึ้นมามันสมองและเงินกู้ก้อนใหญ่ พร้อมการสร้างสายสัมพันธ์อันดีกับนักการเมือง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2542)
กลุ่มเหล็กเจ็บตัวทั่วหน้า
มิใช่แต่เพียงกลุ่มเหล็กในเครือปูนซีเมนต์ไทยเท่านั้น ที่ประสบปัญหาการทุ่มราคาจากต่างประเทศ
และการแข่งขันอย่างดุเดือดภายในประเทศจนกระทั่งมีผลประกอบการตกต่ำ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)