SAMART ฟื้นไข้
วิกฤติเศรษฐกิจในช่วง 4-5 ปีที่แล้ว บริษัท องค์กรธุรกิจ ต่างประสบปัญหา บางแห่งปรับเปลี่ยนโครงสร้าง บางแห่งล้มหายไป
แต่นั่นเป็นจุดเปลี่ยนนำไปสู่การทำธุรกิจ Content ของเครือสามารถ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
เปิดฉากรุกตลาด content กีฬา
ในห้องแถลงข่าวที่จัดขึ้นอย่างเป็นทางการตกแต่งด้วยภาพของนักกีฬาฟุตบอล ของที่ระลึกสำหรับสื่อมวลชน และแขกที่มาในงานนั้นเป็นปฏิทินภาพของ David Beckham และซีดีรวมภาพไฮไลต์ของทีม Arsenal กระแส "กีฬาฟีเวอร์" ที่เกิดขึ้นในวันนี้ จึงเป็นโอกาสทองของการเปิดธุรกิจใหม่ โดยบริษัทสยามสปอร์ต ซินดิเคท จำกัด (มหาชน) และบริษัทสามารถ อินโฟ มีเดีย จำกัด บริษัทย่อยของ บมจ. สามารถ ไอ-โมบาย เซ็นสัญญาร่วมทุน 40 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
สัมภาษณ์ วิฑูร นิรันตราย
บทสัมภาษณ์ วิฑูร นิรันตราย กรรมการบริหารบมจ.สยามสปอร์ต ซิดิเคท (SSPORT)
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
สัมภาษณ์ พงษ์ศักดิ์ ผลอนันต์
บทสัมภาษณ์ พงษ์ศักดิ์ ผลอนันต์ กรรมการผู้จัดการ บมจ.สยามสปอร์ต ซินดิเคท (SSPORT)
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
สยามสปอร์ต Keeping Score?
จากบทบาทแห่งความเป็นสื่อกีฬา กระโดดเข้ามากอบกู้ ฟุตบอลลีกสูงสุดของประเทศในฐานะผู้จัดการแข่งขัน
หลังจากล้มเหลวไม่เป็นท่า ความทะเยอทะยานครั้งนี้ จะสามารถตอบคำถามตนเองและปลอบประโลม
วงการฟุตบอลไทยได้หรือไม่ อีกไม่นานเกินรอ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
สยามสปอร์ต ตักศิลานักข่าวกีฬาไทย
บทบาทของสยามสปอร์ตกำลังขยายตัวยื่นล้ำ เข้าไปสู่สื่อวิทยุโทรทัศน์อย่างต่อเนื่อง
และทำให้สยามสปอร์ตมีฐานะเป็นเสมือนแหล่งสร้างผู้บรรยายกีฬา ที่มีโครงข่ายกว้างขวางและครอบคลุมประเภทกีฬามากที่สุดของประเทศไทย
ซึ่งเป็นผลมาจากการสั่งสมประสบการณ์จากกระบวนการผลิต และกลไกการดำเนินงานในสื่อสิ่งพิมพ์กีฬาของสยามสปอร์ตเอง
ที่ ณ วันนี้มีฐานะไม่แตกต่างกับสถาบันฝึกวิชาชีพ ที่เต็มเปี่ยมไปด้วยฐานข้อมูลชั้นดีนั่นเอง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
ยูโร 2000 กับสยามสปอร์ต
สยามสปอร์ต ซึ่งได้ชื่อว่าเป็นที่สุดของสื่อกีฬาไทย สามารถปรับกระบวนใช้ประโยชน์จากสื่อที่มีในมือในมหกรรมยูโร 2000 เพื่อรองรับความคาดหวังของกลุ่มผู้บริโภคได้ย่างมีประสิทธิภาพ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)
จากวันนั้นสู่วันนี้ของสยามสปอร์ต
หากมองย้อนกลับไปในช่วงปี 2517-2518 อาณาจักรสยามสปอร์ตที่อลังการในปัจจุบัน ยังมีฐานะเป็นเพียงห้องแถวขนาดไม่เล็กไม่ใหญ่ แถวถนนเพชรบุรี แต่กลับเป็นแหล่งรวมของนักข่าวสายกีฬาจากหลากหลายสำนักพิมพ์ ที่ถือเอาสถานที่ดังกล่าวเป็นแหล่งพบปะ
หลังเลิกงานประจำของแต่ละคน โดยมี ระวิ โหลทอง บรรณาธิการหน้าข่าวกีฬา หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ รับบท
เป็นพี่เอื้อยใหญ่…
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2543)