การรุกอีกก้าวของ เจริญ สิริวัฒนภักดี
บ่ายโมงตรงของวันที่ 11 กันยายน เป็นวันที่มีนัยสำคัญวันหนึ่งของวงการอสังหาริมทรัพย์ที่ 2 บริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์จาก 2 ประเทศ กำหนดเซ็นสัญญาร่วมทุนกัน โดยใช้ห้องจัดเลี้ยงโรงแรมพลาซ่า แอทธินี เป็นสถานที่จัดงาน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
เคิร์ท ว๊าซไฟท์ ร่วมสร้างตำนานโรงแรมโอเรียนเต็ล
โอเรียนเต็ลยิ่งใหญ่ด้วยตำนานซึ่งฉายชัดถึงความเก่าแก่ที่ผูกพันร้อยรัดไปกับ
เหตุการณ์ในแต่ละช่วงเวลาอันสำคัญยิ่งของประวัติศาสตร์ จุดเด่นนั้นสร้างให้
โอเรียนเต็ลต่างจากโรงแรมทั่วไปกลายเป็น Luxury Product ที่มีเสน่ห์เย้ายวน
ให้ผู้คนจากทั่วโลกมาร่วมซึมซับประสบการณ์ และความเป็นคนไทย เมื่อผนวกรวมกับวิสัยทัศน์ในการบริหารของกลุ่มอิตัลไทย
เคิร์ท ว๊าชไฟท์ และแมนดาริน กรุ๊ป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2544)
เปรมชัยวันนี้ ต้องอึดลูกเดียว
ย้อนเวลาไปประมาณ 40 กว่าปี จากการปูพื้นลงฐานรากที่แข็งแกร่ง ของหมอชัยยุทธผู้ก่อตั้งบริษัทร่วมกับ
MR.Giorgio Berlingieri ชาวอิ-ตาเลียน ด้วยทุนจดทะเบียน เริ่มแรกเพียง 2
ล้านบาทเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2501 มีพนักงานเพียงไม่กี่ร้อยคน ระยะเวลาผ่านไปประมาณ
40 ปี บริษัท ได้เติบใหญ่สูงขึ้นอย่างมั่นคงจนปัจจุบันบริษัทมีเงินทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้ว
2,500 ล้านบาท มีทรัพย์สินรวมประมาณ 35,412 ล้านบาท(ตัวเลขเมื่อสิงหาคม 2541)
มีวิศวกรเกือบพันคน รวมทั้งพนักงานอีก 28,000 กว่าชีวิต ไม่รวมผู้รับเหมารายย่อยอีกจำนวนมาก
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2542)
"The Last Paper" ของหมอชัยยุทธ กรรณสูต ผู้ก่อตั้งบริษัทอิตาเลียนไทย
ย้อนเวลาไปประมาณ 40 กว่าปี จากการปูพื้นลงฐานรากที่แข็งแกร่ง ของหมอชัยยุทธผู้ก่อตั้งบริษัทร่วมกับ
MR.Giorgio Berlingieri ชาวอิ-ตาเลียน ด้วยทุนจดทะเบียน เริ่มแรกเพียง 2
ล้านบาทเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2501 มีพนักงานเพียงไม่กี่ร้อยคน ระยะเวลาผ่านไปประมาณ
40 ปี บริษัท ได้เติบใหญ่สูงขึ้นอย่างมั่นคงจนปัจจุบันบริษัทมีเงินทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้ว
2,500 ล้านบาท มีทรัพย์สินรวมประมาณ 35,412 ล้านบาท(ตัวเลขเมื่อสิงหาคม 2541)
มีวิศวกรเกือบพันคน รวมทั้งพนักงานอีก 28,000 กว่าชีวิต ไม่รวมผู้รับเหมารายย่อยอีกจำนวนมาก
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2542)
อิตาเลียนไทยฯ เริ่มเดินเครื่องรับงานสร้างที่อยู่อาศัย
บริเวณพื้นที่กว้างใหญ่ประมาณ 800 ไร่ในอำเภอวิหารแดง จังหวัดสระบุรี คือขุมกำลังอันยิ่งใหญ่ของบริษัท
อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) ทุกๆ วันในเวลาประมาณ 6 โมงเย็นจะมีรถบรรทุกขนาดใหญ่ค่อยๆ
เคลื่อนทัพไปส่งวัสดุก่อสร้างตามจุดก่อสร้างต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2541)
"อิตัลไทยยึดหัวหาดระบบขนส่ง ฝ่าด่านปัญหาเศรษฐกิจ"
"ให้ผมทำอีก 10 โครงการผมก็ยังทำได้" คำกล่าวด้วยความมั่นใจนี้ออกจากปากของเปรมชัย
กรรณสูต ประธานบริหารอิตาเลียนไทยดีเวลล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) เมื่อต้องกลายเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างรายเดียว
ซึ่งรับงานที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างระบบขนส่งขนาดใหญ่ทุกโครงการของกรุงเทพมหานครในขณะนี้
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
"เปรมชัย กรรณสูต บ่ม…จนได้ที่"
นับจากการเสียชีวิตของเอกชัย กรรณสูต และจิออร์จิโอ แบร์ลิงเจียรี ในปี
2522 และ 2524 จนถือเป็นยุคขาดผู้บริหารของกลุ่มอิตัลไทยวันนี้ เปรมชัย กรรณสูต
พร้อมแล้วที่จะขึ้นมาเป็นเบอร์หนึ่งเต็มตัว เพื่อนำนาวาอิตัลไทยไปสู่เป้าหมายที่เขาวางไว้
หลังจากที่ถูกหมอชัยยุทธใช้เวลากว่า 10 ปีเพื่อเพาะบ่มจนได้ที่…สำหรับการเป็นเบอร์หนึ่งของอิตัลไทยต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
"กว่าจะเป็นอาณาจักรอิตัลไทยวันนี้"
การก่อเกิดกลุ่มอิตัลไทยที่จะฉลอง 40 ปีในอีก 2 ปีข้างหน้า นับเป็นการมองการณ์ไกลของหมอชัยยุทธอย่างแท้จริง!!!
กล่าวคือ ในปี 2487 หมอชัยยุทธได้รับการของร้องจากน้องเขยของเขา-เผด็จ
ศิวะทัต (บิดาของรนัฎชญ์ อดีตผู้บริหารของกลุ่มอิตัลไทยอีกคน) ซึ่งทำธุรกิจด้านกู้เรืออยู่
และกำลังมีปัญหาเกี่ยวกับงานการกู้เรือของกรมเจ้าท่าที่ปากน้ำ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2536)
อิตาเลียนไทยฯ กับเรื่องน่าหงุดหงิดที่แหลมฉบัง
อิตาเลียนไทยของนายแพทย์ชัยยุทธ กรรณสูต ได้งานที่ท่าเรือพาณิชย์แหลมฉบังทั้งที่ราคาประมูลนั้นสูงกว่าบริษัทฮุนไดฯจากเกาหลีใต้
เพราะบริษัทที่ปรึกษาอ้างว่าการก่อสร้างและเคลื่อนย้ายเคซองของฮุนไดฯไม่ปลอดภัย
และอาจทำให้เกิดความล่าช้าได้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)
"คำตอบอยู่ที่ญี่ปุ่น"เสียงโต้จากที่ปรึกษา
วันที่ 29 มีนาคม 2532 ซึ่งเป็นวันประชุมของกรรมการ กนอ. เพื่อพิจารณาข้อเสนอของบริษัทวิศวกรที่ปรึกษาที่จะต้องเลือกระหว่างฮุนไดฯ
กับอิตาเลียนไทยฯ นั้น มีตัวแทนของบริษัทวิศวกรที่ปรึกษาเข้าชี้แจงด้วย 4
คน คือ รชฎ กาญจนะวณิชย์ สินธุ พูนศิริวงศ์ สหัส รัตนกุล (สต๊าฟทีมศึกษา)
โรเจอร์ อาชเบอร์นเนอร์ และโยชิกิ คามิย่า จากนิปปอนโคเอะ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2532)