บำรุงราษฎร์ หัวหอกโรงพยาบาลไทยบุกต่างแดน
จากความตั้งใจที่จะยกระดับขึ้นสู่มาตรฐานสากลเมื่อ 15 ปีก่อน โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ไม่เพียงบรรลุเป้าหมายดังกล่าวเท่านั้น แต่ยังเป็นหัวหอกโรงพยาบาลไทยในการบุกตลาดต่างแดนอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2550)
Medical Hub of Asia เกมนี้ยังไม่จบ
หากวัดกันที่จำนวนผู้ป่วยต่างชาติที่เข้ามารักษา ปัจจุบันไทยได้กลายเป็นศูนย์กลางการแพทย์ในเอเชียไปเรียบร้อยแล้ว แต่แชมป์เก่าอย่างสิงคโปร์และอินเดียผู้มาใหม่ต่างก็จ้องชิงตลาดนี้อย่างดุเดือด มาตรการของภาครัฐและแรงผลักดันของเอกชนนับจากนี้จะเป็นตัวชี้ชะตาอนาคตอุตสาหกรรมดาวรุ่งของไทยกลุ่มนี้ว่าจะรุ่งโรจน์ต่อไปได้อีกหรือไม่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2550)
Heart Center บำรุงราษฎร์
ด้วยนโยบายไม่ประชาสัมพันธ์ศูนย์ใดศูนย์หนึ่งเฉพาะลงไปของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ทำให้ศูนย์หัวใจของที่นี่เพิ่งเป็นที่รู้จักมากขึ้นเมื่อไม่กี่ปีก่อน และในปีหน้าเตรียมย้ายไปยังตึกใหม่ที่ใหญ่กว่าเดิมหลายเท่าเพื่อรองรับคนไข้ที่เพิ่มขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2548)
บำรุงราษฎร์สู่อินเตอร์
บรรดาคนไข้และญาติผู้ป่วย คงพากันแปลกใจไปตามๆ กัน ที่ค่ำวันหนึ่ง ณ ห้องโถงรับรองชั้นล่างของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ได้ตกแต่งสถานที่ด้วยดอกไม้สีเขียวขาวอย่างสวยงาม นายแพทย์, พยาบาล ในชุดเสื้อกาวน์เดินขวักไขว่ไปมา และมีเสียงดนตรีกระหน่ำก้อง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2548)
The Leading Specialist Healthcare Hub
การทำธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนในรอบนี้ ไม่ได้ มีความหมายเพียงการเป็นโรงพยาบาลชั้นหนึ่งในเมืองไทยอย่างเดียวเท่านั้น
แต่รวมถึงการสร้างโอกาส เพื่อก้าวขึ้นเป็น "ศูนย์กลาง" การบริการด้านสุขภาพแห่งใหม่ของเอเชีย
แข่งกับประเทศเพื่อนบ้านอื่นๆอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ "World Class Service"
สวย ดี และแพง คือ ภาพลักษณ์สำคัญของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ ที่โฟกัสไปยังกลุ่ม High Socity ของประเทศ และชาวต่างชาติกระเป๋าหนักที่ชัดเจน แต่มาวันนี้แผนงานการตลาดใหม่ได้พุ่งเป้าไปยังเด็กและคนชั้นกลางวัยหนุ่มสาวมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
ชัย โสภณพนิช
จากธุรกิจการเงิน เปรียบเสมือนการเป็นรากแก้วของตระกูลโสภณพนิช ที่หยั่งรากลึกมานาน
การตัดสินใจขยายไลน์มาทำธุรกิจโรงพยาบาลเมื่อ 23 ปีที่แล้ว มีสาเหตุจากอะไร
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
จิตวิทยาการตลาดใน "หมู่บ้านเด็ก"
เมื่อย่างเท้าเข้าไปในหมู่บ้านเด็ก บนชั้น 4 ของโรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ก็ต้องยอมรับเลยว่า
บริเวณนี้คือจุดขายที่สำคัญอีกแห่งหนึ่งของโรงพยาบาลแห่งนี้ เป็นโรงพยาบาลในฝันของหลายๆ
คนทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
Bumrungrad Hospital International
โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ เป็นโรงพยาบาลใหญ่ในเมืองไทยที่ไม่มีสาขาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
แต่มีนโยบายการใช้ Network Know-how คือเน้นการสร้างคุณภาพสูงสุดระดับโลก
และสร้างผู้เชี่ยวชาญแต่ละสาขาขึ้นมาประมาณ 2-3 ชุด เตรียมพร้อมไว้ให้โรงพยาบาลทั่วไปจ้างทีมงานนี้ไปบริหารจัดการและวางระบบให้กับโรงพยาบาลแห่งใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
วัฏจักรหุ้นกลุ่มโรงพยาบาลไทย
โดยธรรมชาติของตลาดหุ้นทั่วโลก หุ้นกลุ่มโรงพยาบาลจะถูกจัดอยู่ในประเภทของหุ้นที่เรียกว่า Defensive Stock ซึ่งหุ้นในกลุ่มนี้มักจะไม่ได้รับผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจไม่ว่าจะเป็นขาขึ้นหรือขาลง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)