เปิดบ้าน "BPC" ไม่เห็นของจริงอย่าตัดสินใจซื้อ
"สร้างบ้านให้เสร็จก่อนขาย" คำนิยามใหม่ของการทำธุรกิจกับกลุ่มองค์กรของดีแทค นอกจากกลุ่มผู้ใช้งานทั่วไปที่ถือเป็นแหล่งรายได้อันงดงามสำหรับผู้ให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์มือถือหรือโอเปอเรเตอร์แล้ว กลุ่มองค์กรขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ซึ่งเรียกโดยรวมว่า Corporate น่าจะเป็นอีกหนึ่งแหล่งรายได้ที่ไม่ว่าค่ายไหนก็หันมาให้ความสำคัญกันแทบทั้งสิ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2548)
19 ปี เมโทรไม่โตไม่ได้แล้ว
จากคู่ค้ารายแรกของไอบีเอ็มเมื่อ 18 ปีที่แล้ว นับแต่นั้นมา บริษัทโมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ได้ขยายธุรกิจ
ไปสู่การนำเสนอโซลูชั่นและบริการด้านไอทีแบบครบวงจร
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2547)
การเดินทางของ e-business on demand
นับเป็นครั้งแรกในรอบ 2 ปีเต็ม ที่ไอบีเอ็ม ประเทศไทย
นำผู้สื่อข่าวสายไอทีเดินทางออกสู่ต่างจังหวัด เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น หลังจากการขึ้นรับตำแหน่งผู้จัดการใหญ่ของ
ศุภจี สุธรรมพันธุ์ ได้ไม่นาน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ทวิช จารุวจนะ เรื่องยุ่ง ๆ ของ Y2K ที่ทำให้เมโทรไม่วุ่น
"ต้องยอมรับถ้าไม่มี Y2K เมโทรฯ คงไม่มีวันนี้" คำ ง่ายๆ สั้นๆ ของทวิช
จารุวจนะ กรรมการผู้จัดการ บริษัทเมโทรซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด ทุกวันนี้เมโทรซิสเต็มส์ได้ชื่อว่าเป็นบริษัทคอมพิวเตอร์ ในจำนวนไม่กี่ราย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2542)
'เมโทร' ทวนกระแส ไม่กลัวเศรษฐกิจตกต่ำ
จากพื้นเพเดิมที่เป็นกิจการในเครือบริษัทขายปุ๋ย มาวันนี้บริษัท เมโทร ซิสเต็มส์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) เติบโตอย่างน่าสนใจ เป็นคู่ค้าที่มีลีลา "ไอบีเอ็ม สไตล์" แต่ก็เด็ดเดี่ยวและอิสระจนไอบีเอ็มเกรงใจอย่างมาก เรื่องราวของบริษัทนี้ถูกพูดถึงเสมอในหมู่ดิสทริบิวเตอร์ในกลุ่มอาเซียน อย่างไรก็ดี ในยามเศรษฐกิจตกต่ำ ดูเหมือนเมโทรจะจำกัดตัวเองไม่ได้อีกต่อไปแล้ว ปัญหามาร์จินตกต่ำกำหนดให้เมโทรกล้าสวมบทบาทพระเอกจำเป็น โดยสยายปีกไปทุกทิศทุกทาง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
เมโทรชี้ "เดลคอมพิวเตอร์ ไม่น่ากลัว"
สงครามการจัดจำหน่ายคอมพิวเตอร์ มีความเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา จากรูปแบบซับซ้อน
กลายเป็นสินค้าที่ค้าขายกันเหมือนสินค้าคอนซูเมอร์มากขึ้น สามารถวางตามซูเปอร์สโตร์
กระทั่งห้างสรรพสินค้า เริ่มมีการจัดจำหน่ายโดยดิสทริบิวเตอร์ระดับภูมิภาค
และด้วยวิธีการขายตรง "การตลาดนี่ไม่มีกลยุทธ์ไหนชนะ 100% ไม่มีโมเดลธุรกิจเพียงอย่างเดียว
ซึ่งทำให้ได้ชัยชนะ ถึงอย่างไรก็ต้องมีที่เล่น มีช่องว่างที่คนมองไม่เห็นอีกมาก"
ธวิชกล่าว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
เมโทรแคมปัส ชีวิตใหม่
"คุณธวิชทำไมคุณถึงกล้าลงทุนอย่างนี้"
คนของไอบีเอ็มออกจะทึ่งอยู่ไม่น้อย เมื่อเมโทรฯ ทุ่มทุนมหาศาลให้แคมปัสหรือสำนักงานใหม่ทันสมัยที่สุด
"เศรษฐกิจตกต่ำอย่างนี้ ผมยิ่งต้องลงทุน เพราะพอเศรษฐกิจดี ผมก็นำหน้าคนอื่น
ซึ่งเพิ่มเริ่มต้น" ธวิชตอบเสียงดังฟังชัด คนฉลาดย่อมต้องถือเสียว่า วันพรุ่งนี้คือชีวิตใหม่ ออฟฟิศใหม่ของเมโทรฯ
ออกจะให้บรรยากาศของวันนี้ และพรุ่งนี้ที่งดงามอย่างมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
เมโทรฯ แตกไลน์ธุรกิจ "บริการหลังการขาย"
จากความตั้งใจของ ธวิช จารุวจนะ กรรมการผู้จัดการ บมจ.เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่น(MSC) ซึ่งอยากจะให้ธุรกิจเมโทรฯ เป็นธุรกิจที่ครบวงจร ซึ่งในอดีตเมโทรฯ มีธุรกิจแค่ซอฟต์แวร์และฮาร์ดแวร์
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
"เอ็มเอสซี : โตล้ำหน้าไอบีเอ็ม"
เมโทรซิสเต็มส์คอร์ปอเรชั่นหรือเอ็มเอสซีเป็นบริษัทในเครือศรีกรุงวัฒนามีจุดกำเนิดมาจากแผนกคอมพิวเตอร์เล็ก
ๆ ของเครือ ฯ และเจริญเติบโตมาได้ด้วยการทำมาค้าขายเป็นบริษัทคู่ค้า (BUSINESS
PARTNER) กับไอบีเอ็ม ขายเครื่องคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็มเป็นธุรกิจหลัก
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)
ศรีกรุง เริ่มฟื้นจากไข้เพราะญี่ปุ่น
กลุ่มศรีกรุงวัฒนาปรับโครงสร้างกิจการโดยแยกแยะบริษัทในเครือกว่า 40 แห่งออกเป็น
4 ธุรกิจหลัก ปุ๋ยยังเป็นธุรกิจสำคัญที่ทำรายได้อันดับหนึ่งให้แก่กลุ่มฯ
ขณะที่ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ยังไม่รู้อนาคตว่าจะเกิดเมื่อไหร่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)