Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ9  
ผู้จัดการรายวัน43  
ผู้จัดการรายสัปดาห์1  
PR News1  
Total 53  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > สำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน (ปปง.)


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 9 of 9 items)
กฎหมายฟอกเงิน KYC/DCC เรื่องที่สถาบันการเงินต้องรู้จัก กฎหมายฟอกเงิน KYC/CDD เป็นส่วนหนึ่งของ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน และกฏหมายดังกล่าวจะเริ่มบังคับให้สถาบันการเงินต้องปรับตัว เพราะสถาบันการเงินเป็นเส้นทางการเงินที่เปิดโอกาสให้เกิดการก่ออาชญากรรม(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2553)
6 ปีที่ผ่านไป ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เป็นสองลูกหนี้ที่ดำรงบทบาทอย่างมีสีสันมาก ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
ได้ข้อสรุปเสียที 13.00 น. ณ บังลังก์พิเศษ ศาลล้มละลายกลาง บนชั้น 17 อาคารกรุงเทพประกันภัย คลาคล่ำไปด้วยตัวแทนพนักงาน TPI ทนายความตัวแทนของเจ้าหนี้ และสื่อมวลชน ทุกคนมาเพื่อร่วมรับฟังคำสั่งของศาล ที่จะประกาศว่าจะแต่งตั้งใครเข้าเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ TPI เป็นรายต่อไป หลังจากที่เมื่อวันที่ 21 เมษายน ศาลแห่งนี้ได้ตัดสินถอดบริษัทเอฟเฟคทีฟ แพลนเนอร์ส ออกจากการเป็นผู้บริหารแผนดังกล่าว(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
51 วันกับค่าจ้าง 7.5 ล้านบาท เป็นเหมือนเกมที่พลิกผันตลอดเวลากว่า 1 เดือน ภายหลังศาลล้มละลายกลางมีคำพิพากษาถอดบริษัทเอฟเฟคทีฟ แพลนเนอร์ส (EPL) ออกจากการเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ บริษัทปิโตรเคมีกัลไทย (TPI) และแต่งตั้งประชัย เลี่ยวไพรัตน์ อดีตผู้บริหาร ผู้ซึ่งแสดงบทบาทเป็นไม้เบื่อไม้เมากับเจ้าหนี้มาตลอดเวลากว่า 3 ปี เข้าเป็นผู้บริหารแผนชั่วคราว ร่วมกับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (จพท.)(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
เกมที่เปลี่ยนแทบทุกวัน 21 เม.ย. - ศาลล้มละลายกลางมีคำพิพากษาถอดบริษัทเอฟเฟคทีฟ แพลนเนอร์ส (EPL) ออกจากการเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ TPI เนื่องจากเห็นว่าไม่สามารถบริหารได้ตามแผน และได้แต่งตั้งประชัย เลี่ยวไพรัตน์ ผู้บริหารเดิมร่วมกับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (จพท.) เป็นผู้บริหารแผนชั่วคราว ก่อนให้เจ้าหนี้ลงมติคัดเลือกผู้บริหารแผนรายใหม่ภายใน 30 วัน อย่างไรก็ตาม EPL ยังเป็นผู้บริหารแผนของบริษัทในเครือ TPI อีก 6 แห่ง(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
พิชา ดำรงค์พิวัฒน์ CFO คนใหม่ของทีพีไอ การแถลงผลการดำเนินงานประจำปี 2544 ของธนาคารอาคารสงเคราะห์ (ธอส.) เมื่อวันที่ 17 มกราคม น่าจะเป็นวันสุดท้าย ที่พิชา ดำรงค์พิวัฒน์ ปรากฏตัวต่อสาธารณะ ในฐานะกรรมการ ผู้จัดการ ธอส.(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ "บัลลังก์สะเทือน" พฤติกรรมของประชัย เลี่ยวไพรัตน์ กล้าแกร่งและดุดันที่แสดงออกมาจนล้น แต่ภายใต้เปลือกที่ดูแข็งกร้าว ประชัย คือ คนที่เต็มไปด้วยความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผู้มองการณ์ไกลที่เปลี่ยนโฉมหน้าวงการอุตสาหกรรมปิโตรเคมี มิใช่เพียงช่องทางการทำมาหากินให้กับตัวเอง แต่ยังมีผลสำคัญต่อผู้คนอย่างมาก หากเป็นคนอื่น แค่นี้คงเพียงพอ แต่ไม่ใช่ประชัย การเดินทางครั้งแล้วครั้งเล่าทำให้เขาประสบความสำเร็จมากมาย แต่หลังจากเศรษฐกิจไทยพังทลาย อาณาจักรของเขาก็สั่นสะเทือน คนอย่างประชัย ถอยหลังแล้วหกล้ม จะชอบหรือเกลียดเขาก็ตาม เขานี่แหละนักสู้ตัวยงขนานแท้คนหนึ่ง(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2542)
มือการเงิน: ผู้ปิดทองหลังพระของกลุ่ม TPI มีนาคม 2538 TPI เข้าจดทะเบียนในตลาด หลักทรัพย์ไทย ครั้นต้นปี 2536 เกิดเหตุการณ์ Mexi- can Crisis แต่ในช่วงกลางปีเดียวกันปรากฏว่า TPI ยังแข็งแรงมาก มี deposit อยู่เป็นจำนวนมาก (นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2542)
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ กับ TPI (นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2493)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us