Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ9  
ผู้จัดการรายวัน16  
Total 25  

Listed Company
Manager Lists
 
People > ชนินท์ ว่องกุศลกิจ


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 9 of 9 items)
ชนินท์ ว่องกุศลกิจ “ถ้าคุณอยู่กับมัน คุณจะตายเป็นคนสุดท้าย” “Bringing coal to Newcastle” เป็นสำนวนคนอังกฤษแท้ๆ เทียบกับสำนวนไทยก็เหมือนกับ “เอามะพร้าวห้าวไปขายสวน” เป็นวัฒนธรรมทางภาษาที่เหลืออยู่ให้คนทั้งโลกจดจำได้ว่า สถานะของเมืองนิวคาสเซิลในอดีต ครั้งหนึ่งเคยเป็นแหล่งเหมืองถ่านหินก่อนจะพัฒนามาเป็นเมืองในปัจจุบัน(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2554)
Mr.BANPU ปีเดียวกับที่ชนินท์ ว่องกุศลกิจ ได้รับเลือกให้เป็น TOP 10 Role Model ของนิตยสารผู้จัดการ 360 ํ ปีที่ผ่านมา Forbes Asia ก็ได้จัดอันดับให้ บมจ.บ้านปู เป็น 1 ใน 50 บริษัทที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกประจำปี 2553 หรือ Asia’s Fab 50 โดยบ้านปูเป็นบริษัทไทยเพียงบริษัทเดียวที่ได้รับการจัดอันดับครั้งนี้(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2554)
ทำไมต้องถ่านหิน ถ้าดูพอร์ตที่คุณชนินท์เล่าให้ฟัง ตอนนี้มีที่อินโดนีเซียเป็นหลัก และจีน แล้วก็มีธุรกิจไฟฟ้า คุณชนินทร์บอกว่าต้องมีประเทศที่ 3 ยังอยู่ในย่านนี้หรือเปล่า(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2553)
A villager on an international milestone บ่ายแก่ๆ ของกลางเดือนกรกฎาคม บุญเติมยืนมองที่นาของตนเองที่มีชาวปะกากะญอเกือบ 10 คน จากบ้านนากลาง หมู่บ้านที่อยู่ห่างออกไปไม่ไกลนัก เข้ามารับจ้างปักดำต้นกล้าให้(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กันยายน 2553)
Institutionalizing Banpu คนส่วนใหญ่ยังอาจติดกับภาพที่ว่ากลุ่มบ้านปู ธุรกิจเล็กๆ ที่เกิดจากการร่วมทุนระหว่างคนจาก 2 ตระกูล จนได้เข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลายเป็นบริษัทมหาชน กระจายหุ้นให้นักลงทุนทั้งในกลุ่มสถาบัน กองทุนต่างชาติ และรายย่อยในประเทศอยู่ในปัจจุบัน ยังคงเป็นธุรกิจของตระกูลว่องกุศลกิจ(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
บ้านปู ดอกผลที่ใหญ่เกินคาด 23 ปีก่อน คนในตระกูล "ว่องกุศลกิจ" คงคิดไม่ถึงว่า "เหมืองบ้านปู" ธุรกิจถ่านหินที่ใช้เงินลงทุนตอนนั้นแค่ไม่กี่ล้านบาท จะเติบโตจนกลายมาเป็นบริษัทชั้นนำในอุตสาหกรรมพลังงานได้เหมือนอย่างในทุกวันนี้(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
จากรุ่นที่ 2 สู่รุ่นที่ 3 สิ่งหนึ่งที่คนในตระกูลว่องกุศลกิจกำลังให้ความสนใจมากในขณะนี้คือการจัดการภายในตระกูล ไม่ว่าจะเป็นการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ที่สะสมกันมาจากรุ่นที่สองไปยังรุ่นถัดไป หรือแม้แต่การผสมผสานลูกหลานที่ต้องการสานต่อธุรกิจของตระกูลเข้ากับมืออาชีพจากภายนอก โดยที่ไม่ขัดต่อความพยายามสร้างองค์กรให้ได้มาตรฐานและเป็นมืออาชีพ(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
from Family to be Professional ตระกูล "ว่องกุศลกิจ" อาจมีจุดเริ่มต้นมาจากชาวไร่อ้อยในจังหวัดราชบุรี และถึงแม้จะอยู่ในธุรกิจการเกษตรที่ถูกมองว่าไม่ทันสมัย แต่ก็สามารถนำเอาความรู้และการจัดการสมัยใหม่มาปรับใช้กับทุกธุรกิจในเครือ จนทุกวันนี้น้ำตาลมิตรผล ดิ เอราวัณ กรุ๊ป และบ้านปู แทบไม่หลงเหลือภาพของธุรกิจครอบครัวอีกแล้ว(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
เหมืองบ้านปู "ขายเพื่อโต" "เราขายลานนาลิกไนตโนธุรกิจสายอื่น" นั่นคือเบื้องหลังที่บริษัท เหมืองบ้านปู จำกัดตัดสินใจขายหุ้นออกไปตามเจตนารมย์ที่เคยคิดไว้ก่อนหน้านี้ แหล่งข่าวที่เกี่ยวข้องกล่าว(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us