วิบูลย์ พาณิตวงศ์ฟื้นตัวแล้ว
5 ปีเต็ม ๆ ที่ วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ เก็บตัวเงียบแก้ไขปัญหาที่ทับตัวเขาอยู่กับอง หนี้ 5,250 ล้านบาทที่เขาก่อขึ้น เพื่อสร้างอาณาจักรกลุ่มโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2533)
วิบูลย์-วิเทศ-อารีย์ สามเสือน้ำตาล ผู้สร้างตำนานโศกสลด
วิบูลย์ ผานิตวงศ์ เป็นคนหนุ่มที่เติบโตขึ้นมา ในวงการน้ำตาลอย่างก้าวกระโดด
ต่างจากวิเทศ ว่องวัฒนะสิน ผู้อาวุโสที่ค่อย ๆ สะสมบารมีมาช้านาน และไม่เหมือน
อารีย์ ชุนฟุ้งแห่งกลุ่มวังขนายแต่ทั้ง 3 คน ดูเหมือนมีบางสิ่งที่เหมือนกันเข้าให้แล้ว
นั่นก็คือหนี้สินที่รวมกันแล้วกว่า 10,000 ล้านบาท ที่ทำเอานานแบงก์นั่งน้ำตาตกตาม
ๆ กัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2530)
ไทยรุ่ง ตำนานเสื่อผืนหมอนใบที่เขียนขึ้นโดย "เถ้าแก่หลิ่น"
ขณะนั้นกลุ่มไทยรุ่งเรืองมีโรงงานน้ำตาลทั้งหมด 11 โรง มีกำลังหีบอ้อยรวมกันประมาณ 70,000 ตันต่อวัน ถ้าเปรียบเทียบกับจำนวนโรงงานน้ำตาลทั้งหมดที่ประเทศไทยมีอยู่ คือ 42 โรงแล้ว (ขณะนี้มีเพิ่มขึ้นเป็น 44 โรง) และแม้ว่าปัจจุบันกลุ่มไทยรุ่งเรืองจะเหลือโรงงานน้ำตาลอยู่เพียง 9 โรง อันเป็นผลจากเมื่อปลายปี 2525 ไทยรุ่งเรืองดำเนินมาตรการตอบโต้นโยบาย 70/30 ด้วยการประกาศขายโรงงานน้ำตาลของตนทั้งหมด และกลุ่มบ้านโป่งของ วิบูลย์ ผานิตวงศ์ รับซื้อไป 2โรง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พลาด" แต่ไม่ผิด
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พลาด" จริง พลาดเพราะทุ่มทุนสุดตัวกู้หนี้ยืมสินขยายกิจการโรงงานน้ำตาลในกลุ่ม ในช่วงที่ยังไม่มีสัญญาณใด ๆ บอกว่าราคาน้ำตาลในตลาดโลกจะเขยิบสูงขึ้น นอกจากความหวังในวงจรราคาน้ำตาล
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
"กำเนิดกลุ่มโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง"
"บ้านโป่ง" เป็นชื่ออำเภอหนึ่งของจังหวัดราชบุรี บ้านเกิดของพี่น้องตระกูล "ผาณิตพิเชฐวงศ์" และเป็นที่มาของชื่อ "บริษัทโรงงานน้ำตาลบ้านโป่ง" ที่เปรียบเสมือนบริษัทแม่ของโรงงานน้ำตาลในเครืออีก 5 โรง หรือที่นิยมเรียกกันว่ากลุ่มบ้านโป่ง ใน พ.ศ. นี้
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)