Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ26  
Positioning2  
ผู้จัดการรายวัน2  
ผู้จัดการรายสัปดาห์1  
PR News54  
Web Sites1  
Total 85  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > เชลล์แห่งประเทศไทย, บจก.


นิตยสารผู้จัดการ (11 - 20 of 26 items)
ธีรพจน์ วัชราภัย เมื่อเชลล์ต้องโดดลงมาแข่งในธุรกิจค้าปลีกอย่างเต็มตัว ธีรพจน์ วัชราภัย ถือเป็นคนไทยคนที่ 2 ที่ได้ก้าวขึ้นมาเป็น เบอร์ 1 ในตำแหน่งประธานกรรมการบริษัทเชลล์ในประเทศไทย บริษัทน้ำมันสัญชาติเนเธอร์แลนด์ ที่ได้เข้ามาลงทุนในประเทศไทยมาแล้ว 109 ปี(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2544)
มองการโตของมินิมาร์ทผ่าน 3 ค่ายใหญ่ การเติบโตของร้านค้าสะดวกซื้อในสถานีบริการน้ำมันแม้จะอืดๆ ในช่วงต้นแต่ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาก็เริ่มคึกคักมากขึ้น ยิ่งมาในช่วงหลังรายได้จากน้ำมันไม่เป็นไปตามเป้า เหล่าค่ายน้ำมันหันมาพึ่งรายได้จากร้านค้าสะดวกซื้อมากขึ้น เห็นได้จากการมีโครงการจัดตั้งบริษัทหรือแผนกชัดเจนเพื่อดูแลร้านค้าสะดวกซื้ออย่างเป็นสัดส่วนมากขึ้น(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
สมถวิล นักวิชาการสิ่งแวดล้อมของเชลล์ สำหรับนักวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมระดับประเทศ ชื่อ สมถวิล ปธานวนิช เป็นชื่อที่จะได้ยินผ่านหูเห็นผ่านตาอย่างน้อยที่สุดหนึ่งครั้ง โดยเฉพาะผู้ที่ติดตามความเคลื่อนไหวของเนื้อหา และท่าทีของไทยในการประชุมสุดยอดสิ่งแวดล้อมโลกของสหประชาชาติ หรือที่เรียกกันว่า Earth Summit(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2535)
3 ค่าย 3 กลยุทธ์โรงกลั่นเอสโซ่ถือไฟเหนือกว่าใคร ปี 2534 ถือว่าเป็นปีแห่งโรงกลั่น…!!! เมื่อวันที่ 30 ตุลาคมเชลล์นำโดย ม.ร.ว.สฤษดิคุณ กิติยากรประเดิมเซ็นสัญญาสร้างโรงกลั่นแห่งใหม่ ชนิดที่เรียกว่าตกลงกันได้แบบหวุดหวิดก่อนที่จะถูกยึดเงินประกัน 400 ล้านบาทในวันที่ 2 พฤศจิกายน(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
เซ็นสัญญาโรงกลั่นเชลล์ ชัยชนะของคาลเท็กซ์...! กว่าฝันจะเป็นจริง...! 26 เดือนกับ 24 วันที่ ม.ร.ว.สฤษดิคุณ กิติยากร ต้องใช้ความอดทนต่อสู้อย่างยากเข็ญกว่าจะได้เซ็นสัญญาสร้างโรงกลั่นเชลล์เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2534 เฉียดเส้นตายที่ถูกขีดไว้เพียง 3 วัน แต่คาลเท็กซ์กลับกลายเป็นผู้ชนะ เพราะจะได้สร้างโรงกลั่นที่สูงขึ้น ทั้งที่เชลล์ยืนหยัดปฏิเสธข้อเสนอเหล่านี้อย่างแข็งขันมาตลอด...!(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
ปั๊มน้ำมันไร้สารตะกั่วที่ภูเก็ตเบื้องหลัง ปตท. เฉือนเชลล์ได้อีกครั้ง หลักจากที่มีการเปิดขายน้ำมันเบนซินไร้ สารตะกั่วขึ้นอย่างแพร่หลายในกรุงเทพโดยมีการปีโตรเลียมแห่งประเทศไทย (ปตท.) เป็นคนชูธงเปิดขายเป็นรายแรกจจึงให้เชลล์ที่จะเป็นผู้นำต้องกลายมาเป็นผู้ตามแล้ว "ภูเก็ต" ยังกลายเป็นสนามอีกแห่งหนึ่งที่ ปตท. ได้แซงโค้งคู่แข่งอื่นโดยเฉพาะเซลล์อีกครั้งหนึ่ง(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
โครงการกระตุ้นความตื่นตัวรับปี 1992 ผลกระทบของปี 1992 ที่มีต่อแต่ละบริษัททั่วทั้งทวีปยุโรปนั้น จะแตกต่างกันไปโดยขึ้นอยู่กับกิจกรรมและทรัพยากรหลักของแต่ละบริษัท แต่ไม่ว่าจะเป็นกิจการขนาดใหญ่ กลาง หรือเล็ก ไม่ว่าจะอยู่ในอุตสาหกรรมการผลิตหรือบริการ สิ่งที่พวกเขาต้องเผชิญเสมอเหมือนกันหมดคือ "ความท้าทาย"(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
แผนรุกฆาตตลาดน้ำมันไร้สารตะกั่วของเชลล์และปตท. ทันทีที่รัฐบาลและคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติที่มีอานันท์ ปันยารชุน นายกรัฐมนตรีเป็นประธานได้ประกาศอย่างแจ้งชัดถึงแนวทางที่จะให้ผู้ค้าน้ำมันนำน้ำมันไร้สารตะกั่วหรือ ULG (Unleaded Gasoline) เข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยให้ได้ภายในเดือนพฤษภาคม(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2534)
ปตท. ผู้เป็นทั้งกรรมการและผู้เล่น "เราต้องแข่งขันกับบริษัทต่างชาติต้องทำงานเหมือนกับเขา วิธีเดียวที่จะแข่งกับเขาได้ คือ ต้องเหมือนเขา เราต้องหารออกมาเลยว่า เราขายเท่าไร คนหนึ่งสามารถทำผลงานให้ได้เท่าไหร่ นึกภาพว่าเราต้องปรับคนของเรา ต้องรู้เขารู้เรา เราต้องรู้ว่าต้นทุนต่อหน่วยของเราเป็นเท่าไหร่ ต้นทุนต่อหน่วยของเขาเป็นเท่านี้ ทำไมของเราสู้เขาไม่ได้ ทำอย่างไรของเราจึงจะมีประสิทธิภาพ…(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
กรณีศึกษา : อันเนื่องมาจากสวนป่าวนาธรของ "เชลล์" หยิกเล็กฤาเจ็บเนื้อเป็นธรรมดา โครงการสวนป่าวนาธรของบริษัทเชลส์ ไม่ใช่เป็นเพียงโครงการใหญ่ ลงทุนหลายพันล้านบาทของบรรษัทข้ามชาติที่ควรจับตามมองเป็นพิเศษ ในหลายแง่มุมเท่านั้น หากโครงการนี้อาจกล่าวได้ว่า เป็นบรรทัดฐานของการนำประเทศไปสู่การเป็น "ประเทศอุตสาหกรรมการเกษตรใหม่" ที่มีรายละเอียดปลีกย่อยอีกมาก "น้ำผึ้งหยดเดียว" ของการคัดค้านที่ดังกระหึ่มออกมาเป็นระยะๆ ต่อโครงการนี้จึงเป็นเรื่องที่ต้องใช้ความสุขุมรอบคอบต่อการตัดสินใจ!!(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2531)

Page: 1 | 2 | 3





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us