Shell Bitumen เมื่อยักษ์บุก
การเปิดศูนย์เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์ยางมะตอย หรือ Shell Bitumen Technology Center อาจให้ภาพเป็นเพียงความเคลื่อนไหวทางธุรกิจปกติ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2551)
New Business Model Like Father Like Son
สมบัติมากมายของ ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ ที่สร้างไว้ให้ลูก ไม่ได้เป็นทรัพย์สินเงินทอง แต่เป็นมรดกทาง "ความรู้" ที่กำลังถูกบริหารจัดการและพัฒนาอย่างเป็นระบบ เพื่อต่อยอดเป็นเม็ดเงินอย่างต่อเนื่อง นับว่าเป็นโมเดลหนึ่งที่คลาสสิกและไม่ได้เกิดขึ้นบ่อยนักในสังคมไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
ม.ร.ว.ถนัดศรี สวัสดิวัตน์ ผู้สร้างตำนาน "นักชิมอาหาร"
มรดกในเรื่องอาหาร ถูกถ่ายทอดผ่านสายเลือดและความคิดของคน "รุ่นพ่อ" สู่ "รุ่นลูก" โดยมีกระบวนการจัดการอย่างเป็นระบบ จากแบรนด์ "เชลล์ชวนชิม" มาเป็นแบรนด์ "หมึกแดง" โดยมี "ปิ่นโตเถาเล็ก" เดินตามรอยเท้าพ่อและพี่มาติด ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
Shell 4 : วัฒนธรรมองค์กร 2
ข้อดีของการเป็นพนักงานฝึกงานอย่างหนึ่งก็คือ การเป็นคนนอกขององค์กรที่ได้ทำงานข้างใน
เป็นตำแหน่งที่สามารถมององค์กรได้อย่างรอบด้าน สามารถมองภาพจากภายนอกในฐานะผู้สังเกตการณ์
รวมทั้งประเมินสถานการณ์กับสังคมรอบข้างโดยยังไม่ได้ถูกระบบขององค์กรกลืนเข้าไป
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
Shell (3) วัฒนธรรมองค์กร
เมื่อวันปีใหม่ที่ผ่านมา ผมเพิ่งได้รับอีเมลจาก Martijn Kleverlaand อดีต Mentor (ผู้ดูแลแนะแนว) ของผมที่เชลล์ เขาเขียนมาสวัสดีวันปีใหม่ อวยพรวันคริสต์มาส รวมทั้งบอกข่าวดีว่า เขามีความสุขกับงานในตำแหน่งใหม่ที่เชลล์ หลังจากการเปลี่ยนแปลงองค์กรของ EP Europe 2003
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
Shell (2) : ในความเป็นจริงของโลก
ในช่วงยุค 60s และ 70s เชลล์ เป็นความใฝ่ฝันของชาวดัตช์ทุกคน รวมถึงวิศวกรต่างชาติอีกเป็นแสน ในขณะนั้นเชลล์มีโครงการที่จะดูแลพนักงานอย่างดีที่สุด ตั้งแต่วันที่เข้ามาจนถึงวันตาย สวัสดิการนั้นดีแค่ไหนหรือครับดีถึงขนาดที่ว่าเกษียณไปแล้วก็จะได้เงินเดือนครึ่งหนึ่งของที่เคยได้เมื่อปีสุดท้ายก่อนเกษียณไปเรื่อยๆ จนกว่าจะเสียชีวิตไป
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
ว่ากล่าวถึง Shell และอื่น ๆ อีกมากมาย : ปฐมบท
มิถุนายน 2003-Shell U.K. exploration & production-Aberdeen "ทุกๆ อย่างเปลี่ยนไปทั้งนั้น มันเป็นสัจธรรมที่ว่าไม่มีอะไรแน่นอน" Pim Braun ชายวัยดึก สุขภาพดี กล่าวขึ้นกับผม ก่อนที่จะรีบเก็บของบนโต๊ะไปพักผ่อนที่ออสเตรเลีย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
Re-launch TMA ความท้าทายใหม่ของ ดุสิต นนทะนาคร
เมื่อเวทีเศรษฐกิจการค้า ดำเนินไปท่ามกลางการแข่งขัน
และเพิ่มพูนความได้เปรียบด้วยเทคนิคการบริหารจัดการแผนใหม่ องค์กรวิชาชีพที่มีเกียรติประวัติและความเป็นมายืนยาวใกล้
40 ปี
แห่งนี้ กำลังปรับตัวพร้อมกับแสวงหาแนวทางเพื่อรองรับกับกระบวนการเหล่านี้อย่างมีนัยสำคัญ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
เชลล์ "เพียวร่า ดีเซล" จ่ายเพิ่มลิตรละ 1 บาท เพื่ออากาศสะอาดขึ้น
นับเป็นการกล้าตัดสินใจทีเดียว สำหรับการเปิดตัวสินค้าใหม่ "เชลล์เพียวร่า
ดีเซล" น้ำมันดีเซลตัวใหม่ของค่ายเชลล์ในประเทศไทย ราคาสูงกว่าน้ำมันดีเซลธรรมดาลิตรละ
1 บาท ในยุคที่คนไทยกำลังนิยม สินค้าราคาถูก โดยเฉพาะน้ำมันเชื้อเพลิงที่มีราคาผันผวนมากว่า
2 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
เชลล์ผู้วางรากฐาน
ในอดีตคนไทยต่างรู้จักน้ำมันก๊าด "ตรามงกุฎ" ของเชลล์เป็นอย่างดี
มีการแต่ง ตั้ง บริษัท เมสเซอร์ส มาร์ควอล์ด แอนด์ โค เป็นผู้แทนจำหน่ายสินค้าของเชลล์ในไทย
จากนั้น บริษัท เอเซียติก ปิโตรเลียม (สยาม) บริษัทในเครือกลุ่มบริษัทโรยัลดัทช์/เชลล์
ได้ แต่งตั้ง บริษัท บอร์เนียว เป็นผู้แทนจำหน่าย อย่างเป็นทางการของเชลล์ในไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)