การต่อสู้ของชิน โสภณพนิช กับธนาคารอาณานิคม
ประวัติสังเขปของธนาคารกรุงเทพชิ้นนี้ จะแสดงให้ท่านเห็นว่า แรงผลักดันของประวัติศาสตร์
และมนุษย์สามารถผนึกเข้าด้วยกัน เพื่อประโยชน์โอกาส และเทคนิคของระบบการเงินอันทันสมัย
เพื่อขยายกิจการ และแข่งขันสถาบันธนาคารอาณานิคมที่ก้าวหน้ากว่าถึง 40 ปี
ได้อย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)
ชาตรี โสภณพนิช ที่สุดของที่สุดๆๆๆ
ปีนี้ชาตรี โสภณพนิช อายุเพิ่งจะ 54 ขึ้นนั่งตำแหน่งกรรมการผู้จัดการธนาคารกรุงเทพมาแล้ว
6 ปี และครอบครองอาณาจักรส่วนอื่นๆ ที่ได้รับตกทอดมาจากชิน โสภณพนิช มากว่า
10 ปี เป็นอย่างน้อย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)
กรุงเทพฯพาณิชย์การ ยุค "อินทรทูต" ที่นี่ยังไม่มีอะไรใหม่!?
จาก 28 มีนาคม 2529 จวบวันนี้ก็ครบปีเต็ม ที่ธนาคารกรุงเทพพาณิชย์การ มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง
มีทีมบริหารรุ่นใหม่ไฟแรงเข้ามา แง้มประตูเปิดกว้างให้รู้จักมากขึ้น แต่เกริกเกียรติ
ชาลีจันทร์ผู้บริหารงานตัวจริงและทีมก็ไม่กล้าบอกว่า จะมีอะไรใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)
ไทยรุ่ง ตำนานเสื่อผืนหมอนใบที่เขียนขึ้นโดย "เถ้าแก่หลิ่น"
ขณะนั้นกลุ่มไทยรุ่งเรืองมีโรงงานน้ำตาลทั้งหมด 11 โรง มีกำลังหีบอ้อยรวมกันประมาณ 70,000 ตันต่อวัน ถ้าเปรียบเทียบกับจำนวนโรงงานน้ำตาลทั้งหมดที่ประเทศไทยมีอยู่ คือ 42 โรงแล้ว (ขณะนี้มีเพิ่มขึ้นเป็น 44 โรง) และแม้ว่าปัจจุบันกลุ่มไทยรุ่งเรืองจะเหลือโรงงานน้ำตาลอยู่เพียง 9 โรง อันเป็นผลจากเมื่อปลายปี 2525 ไทยรุ่งเรืองดำเนินมาตรการตอบโต้นโยบาย 70/30 ด้วยการประกาศขายโรงงานน้ำตาลของตนทั้งหมด และกลุ่มบ้านโป่งของ วิบูลย์ ผานิตวงศ์ รับซื้อไป 2โรง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
วรรณ ชันซื่อ ทำงานเงียบ ๆ รวยเงียบ ๆ
วรรณ ชันซื่อ มักจะเก็บตัวอยู่ในห้องทำงานที่อาคารสารสินเงียบ ๆ เขาไม่ออกสังคม ไม่รับเชิญไปอภิปรายถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้ให้กับคนรุ่นหลัง ๆ และไม่พยายามที่จะทำตัวเป็นคนเด่นคนดังในยุทธจักร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เมื่อเล่าปี่ต้องจากบัวหลวง
คนในธนาคารกุรงเทพชอบขนานนาม ชิน โสภณพนิช ว่าเป็นเล่าปี่ ส่วนผู้จัดการคนอื่นจะถูกตั้งฉายาว่าอะไรก็คงจะมีอยู่หรอก
แต่ "ผู้จัดการ" จะไม่ขอพูดถึงในฉบับนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)
เกือบไปแล้วไหมล่ะเบื้องหลังที่ถูกอัด
"คราวที่จะย้ายเข้ามาในสำนักงานใหญ่ สูง 30 กว่าชั้นอันนี้ เราหนักใจมาก
เพราะมันจะมีอะไรกระทบมากขึ้น แต่ที่ผ่านมาเราเคราะห์ดี เราสู้ได้ เราแก้ปัญหาไปแล้ว
ยังเจริญขึ้นอีก
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2527)