ชัย โสภณพนิช
จากธุรกิจการเงิน เปรียบเสมือนการเป็นรากแก้วของตระกูลโสภณพนิช ที่หยั่งรากลึกมานาน
การตัดสินใจขยายไลน์มาทำธุรกิจโรงพยาบาลเมื่อ 23 ปีที่แล้ว มีสาเหตุจากอะไร
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
เกือบไปแล้วไหมล่ะ เบื้องหลังที่ถูกอัด"
คราวที่จะย้ายเข้ามาในสำนักงานใหญ่ สูง 30 กว่าชั้นนี้ เราหนักใจมาก เพราะมันจะมีอะไรกระทบมากขึ้น แต่ที่ผ่านมาเราเคราะห์ดี
เราสู้ได้ เราแก้ปัญหาไป แล้ว ยังเจริญขึ้นอีก ระยะ 38 ปีที่ผ่านมาทุกปีเราก็สู้
แต่ต่อไปมันจะมีอะไรเรายังไม่รู้เลย
(บทความจาก Big Story. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic เมษายน 2545)
โสภณพนิชที่ 3 ในแบงก์กรุงเทพ ?
สิ้นบุญ ชิน โสภณพนิช ยังไม่ถึงปีดี โชติ โสภณพนิช บุตรชายคนที่ 3 ของเขาก็ยื่นใบลาออกจากตำแหน่งกรรมการรองผู้จัดการใหญ่แบงก์กรุงเทพได้สำเร็จ
โดยไม่มีใครทัดทานความประสงค์ของเขาอีกต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
หลังชิน "เส้นทางการบริหารมรดกธุรกิจ?"
ชิน โสภณพนิช…ได้กลายเป็นประวัติศาสตร์ไปแล้ว หลังการตายของเขาเมื่อวันที่
4 มกราคม 2531 เรื่องราวและประสบการณ์ในการบริหารธนสารสมบัติของเขาในย่านแฟซิฟิกริม
เป็นตำนานเล่าขานที่ถูกบันทึกไว้เป็นประวัติศาสตร์เพื่อการศึกษาแก่ชนรุ่นหลังอย่างมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
5 "ช" ชิน - อาไน้ ทีเด็ดตัวแปร!?
คนอย่างชินใช่ว่า "ทั้งเก่งทั้งเฮง" เฉพาะเพียงความเป็นธนราชันย์เท่านั้น
ชีวิตจริงส่วนตัวก็ดูเหมือน "ทั้งเก่งทั้งเฮง" ไม่น้อยไปกว่ากัน
ชินอาจจะยิ่งใหญ่เหนือกว่า "บุเรงนอง" กษัตริย์นักรบ - นักรักในนวนิยายของยาขอบหลายร้อยเท่าพันทวี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
"โสภณพนิช" กำลังจะเริ่มต้น!!??
มรณกรรมของชินเสมือนหนึ่งเปิดประวัติศาสตร์หน้าต่อไปของ "โสภณพนิช"
โดยปริยาย ความรุ่งเรืองที่เคยมีชินเป็นเสาค้ำถูกกดดันด้วยอิทธิพลปัญหาความแตกแยกอย่างยากจะหลีกพ้น
กระทั่งวีระ รมยะรูป คนใกล้ชิดกับชินมายี่สิบกว่าปียังเคยเปรยเป็นนัยๆ ว่า
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
ฐานะทางประวัติศาสตร์ของนายชิน โสภณพนิช
มรณกรรมของนายชิน โสภณพนิช เมื่อวันอาทิตย์ที่ 3 มกราคม 2531 ไม่เพียงแต่จะยังความสูญเสียแก่ตระกูลโสภณพนิชเท่านั้น
หากยังความสูญเสียแก่กลุ่มทุนนิยมไทยอย่างสำคัญอีกด้วย อาจจะไม่ผิดนักที่จะกล่าวว่า
ประวัติชีวิตของนายชินก็คือ ภาพลักษณ์แห่งการเติบโตระบบทุนนิยมในประเทศไทยในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
"ชิน โสภณพนิช หนังเหนียวกว่าที่คิด"
ตอนที่ชิน โสภณพนิชต้องระเห็จไปอยู่ที่ฮ่องกงเมื่อปี 2501 นั้น ใครต่อใครก็นึกว่าชินคงจะต้องปักหลักอยู่ที่นั่นไปตลอด
ทิ้งแบงก์กรุงเทพให้บุญชู โรจนเสถียรดูแล
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)