ดวงชะตาสมหมาย ฮุนตระกูล…ซามูไรหนังเหนียว???
ดวงของสมหมาย ฮุนตระกูล เป็นดวงซิ่ง สำหรับฉบับนี้ซึ่งเป็นฉบับแรก ได้มีการลงมติเป็นเอกฉันท์กันว่า
ให้พิจารณาดวงชะตาของจ้าวยุทธจักรแห่งธุรกิจการเงินของไทยขณะนี้ คือ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
นายสมหมาย ฮุนตระกูล
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2529)
ประเทศไทยสมควรมีรัฐมนตรีคลังคนใหม่หรือยัง
การดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังติดต่อกัน 5 ปีของสมหมาย ฮุนตระกูล
ในขณะที่ประเทศกำลังเผชิญปัญหาเศรษฐกิจติดต่อกันเรื่อยมา ทำให้ต้องมีมาตรการทั้งทางการเงินการคลังออกมาแก้ไขปัญหาไม่หยุดไม่หย่อน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2529)
ใครเป็นทหารเอกของ สมหมาย ฮุนตระกูล
สำหรับคนอายุ 67 ย่าง 68 มะรอมมะร่อ แต่ยังต้องมาแบกรับหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศที่มีปัญหาเศรษฐกิจรอบตัวอย่าง
สมหมาย ฮุนตระกูล จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีคนมาช่วยทำงาน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2529)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
ทำไมจะต้องมาลงที่สมหมายคนเดียว?
"อยากจะเรียนว่ารัฐบาลยืนยันว่าทางเศรษฐกิจ และฐานะทางการเงินของรัฐบาลดีขึ้น
ทั้งดุลชำระเงิน ทุนสำรองและค่าเงินบาทต่างอยู่ในสภาพที่ดี เสียงเล่าลือเกี่ยวกับการลดค่าเงินบาท
ยังมองไม่เห็นว่าจะต้องเป็นไปเช่นนั้น"
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2527)
วันที่สมหมายถูกนายกเปรมเล้ง
ความขัดแย้งในการทำงานระหว่างสมหมายกับนุกูลนั้นมีมานานแล้ว แต่หนึ่งในความขัดแย้งทั้งหลายนั้น
ที่สมหมายจดจำ และเจ็บใจมากที่สุด ก็คงจะเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นเมื่อประมาณ
3 ปีที่แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)
เมื่อคนหัวรั้นเจอคนบ้าเลือด
ปี 2527 สำหรับวงการเงินการคลังของประเทศไทย นับได้ว่าเป็นปีที่ไม่เคยมีเวลาให้พักเลย
คนเก่าในวงการบางคนบอกว่า ตั้งแต่สังคมการเงินเติบโตมาเพิ่งจะมีปีนี้แหละที่มีแต่เรื่องเลวร้ายมาตลอด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)
ผู้ว่าการธนาคารชาติกับการเมืองในอดีตของไทย
ในประเทศที่เจริญแล้ว อย่างเช่น อังกฤษ และสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นแบบอย่างของการจัดการระบบการเงินของประเทศอื่นๆ
ทังหลายนั้น เขาถือหลักว่า "ผู้ว่าการธนาคารชาติ" หรือ "ผู้ว่าการธนาคารกลาง"
จะต้องเป็นบุคคลที่สามารถทำหน้าที่อย่างเป็นกลางได้ โดยเป็นบุคคลที่ไม่ขึ้นสังกัดหรืออยู่ในอาณัติของพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)