วิถีคนกล้า…เจ้าพระยาพระคลัง "สมหมาย"
ไม่ว่ายุคสมัยใด ไม่มีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังคนใด CONTROVERSIAL เท่ากับสมหมาย
ฮุนตระกูล ผู้แสดงศักยภาพบริหารการเงินและการคลังแบบมี VISION และ MISSION
เพื่อพลิกฟื้นปัญหาฐานะการเงินการคลังของรัฐภายใต้วิกฤตการณ์เศรษฐกิจการเมืองที่เลวร้ายมาก
ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2536)
ปูนใหญ่ JAPANIZATION
สมหมาย ฮุนตระกูล ขึ้นเป็นผู้จัดการเครือซีเมนต์ไทยช่วง 2519-2532 ต่อจากบุญมา
วงศ์สวรรค์ เขาต่างจากบุญมาตรงที่เขาเป็นนักเรียนเก่าญี่ปุ่นไม่เหมือนบุญมาที่เป็นศิษย์เก่าแอลเอสอี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ปูนใหญ่…หยุดไม่ได้ !?!
เป็นคำตอบที่แจ่มชัดที่สุดในบรรดาข้อสงสัยทั้งปวงถึงท่าที และอนาคตของเครือซิเมนต์ไทย
อันหมายถึงการรุกคืบไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)
โครงการ 4 เมษา สูตรผสมโหด-เลว-ดี ที่ยังอยู่ในห้องทดลอง?
ลักษณะพิเศษของโครงการ 4 เมษายนนั้น นอกจากความฉุกละหุกแล้ว ประการสำคัญเห็นจะอยู่ที่ความเป็นสูตรผสมของวัฒนธรรมการคลี่คลายปัญหาแบบไทย
ๆ ที่มีหลายอารมณ์และมีความเป็นสุภาพบุรุษที่ยืดได้หดได้ บางครั้งก็โหด บางครั้งก็ไม่ค่อยจะดีนัก
แต่ก็จบลงด้วยความสบายใจของทุกฝ่ายยิ่งกว่าหนังไทยเสียอีก และไม่แน่นักอาจจะมีภาค
2 ภาค 3 ต่อไปอีกหากผู้ชมเรียกร้อง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
เปิดบ้าน สมหมาย ฮุนตระกูล ขุนนางไทยเชื้อสายไหหลำ...อีกคน
ต้นเดือนกันยายนที่ผ่านมา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง สมหมาย ฮุนตระกูล
ได้เปิดบ้านเพื่อเลี้ยงอาหารสื่อมวลชนเป็นครั้งแรก เมื่อมีโอกาสได้เข้าไปสัมผัสบ้านที่แม้แต่คณะรัฐมนตรีร่วมรัฐบาลยังไม่เคยเข้าไป
จะเขียนเป็นรายงานสั้น ๆ ก็ดูจะไร้วิญญาณคนทำหนังสือไปหน่อย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
เรื่องของคนแซ่ฮุน "เมฆย่อมลอยอยู่บนท้องฟ้า"
ต้นสกุลของตระกูลเป็นชาวไหหลำได้อพยพมาจากเมืองจีนมาในประเทศไทยในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่
5 โดยมีหัวหน้าตระกูลชื่ออุ่นตุ้ย แซ่ฮุน ต่อมาเริ่มประกอบกิจการเป็นพ่อค้าทำขนมปังและได้สมรสกับอำแดงคำบุตรสาวของนายปิ้นและนางหุ่น
จันตระกูลเจ้าของตลาดน้อยในสมัยนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
เทคนิคสามัญ (ไม่พึงกระทำ) ของเซียนซามูไร-สมหมาย
สมหมาย ฮุนตระกูล บางคนให้ฉายาว่า ซามูไรหนังเหนียว จากพฤติการณ์ที่อยู่ยงคงกะพันท่ามกลางการฟัด
กัดตีของบรรดาเสือสิงห์ กระทิงแรด ในวงการเมืองของไทยยุคที่เพิ่งจะปิดหน้าไปไม่นานและกำลังจะเปิดหน้าใหม่ต่อไปนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)
สมหมาย ฮุนตระกูล ในสายตาของคู่ชีวิต
"ไปพบกับคุณสมหมายที่ญี่ปุ่นตอนก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง ดิฉันไปเรียนที่วิทยาลัยวิชาชีพที่ชื่อว่า
"โตโย โยชิอินเซ็ง" เป็นวิทยาลัยผู้หญิงล้วน ก็มีคนไทยเรียนอยู่
4-5 คน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2529)