สยามกลการหมดยุคถาวรหรือ "พรประภา"?
สัญญาณการเปลี่ยนแปลงบางประการเกิดขึ้นกับกลุ่มสยามกลการมานานพอสมควรแล้ว
เพียงแต่วิเคราะห์กันไม่ออกเท่านั้นว่า จะเปลี่ยนไปในรูปไหนได้แต่คาดเดากันไปหลายทิศหลายทางจนเมื่อวันที่
16 ตุลาคม 2529 พร้อมๆ กับการเข้ามาของนุกูล ประจวบเหมาะ และการประกาศวางมือของถาวร
พรประภา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
ทำไมต้องเป็น นุกูล ประจวบเหมาะ
นุกูล ประจวบเหมาะ เกิดเมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ.2472 อายุ 57 ปี (ปี
2529) พื้นเพเดิมเป็นคนจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จบการศึกษาชั้น ม.8 ที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ข้ามน้ำข้ามทะเลไปเรียนต่อที่มหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย คว้าปริญญาตรีพาณิชย์ศาสตร์บัณฑิตกลับมาเมื่อปี
2495
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2529)
ศึกชิงสำนักน่ำใฮ้ “ผมจะสู้เพื่อหลักการ” บุญชู โรจนเสถียร
“ณ วันตรวจสอบสินทรัพย์รวมของธนาคาร (นครหลวงไทย) เมื่อหักสินทรัพย์จัดชั้นเป็นสูญเต็มจำนวนกับครึ่งหนึ่งของสินทรัพย์จัดชั้นเป็นสงสัยส่วนที่เกินมูลค่าหลักประกันและสำรองเพื่อหนี้สงสัยจะสูญแล้ว คงเหลือ 11,541.6 ล้านบาท... ซึ่งหากธนาคารท่านใช้วิธีปฏิบัติทางการบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปแล้ว การดำเนินงานที่แท้จริงจะมีผลขาดทุน...”
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เมื่อคนหัวรั้นเจอคนบ้าเลือด
ปี 2527 สำหรับวงการเงินการคลังของประเทศไทย นับได้ว่าเป็นปีที่ไม่เคยมีเวลาให้พักเลย
คนเก่าในวงการบางคนบอกว่า ตั้งแต่สังคมการเงินเติบโตมาเพิ่งจะมีปีนี้แหละที่มีแต่เรื่องเลวร้ายมาตลอด
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2527)