จูเลียน สปินดเลอร์ เบื้องหลังของสุนทรพจน์หลายชิ้น
จูเลียนเคยอยู่บางกอกโพสต์อยู่พักหนึ่งหลังจากนั้นก็ออกมาเป็นบรรณาธิการนิตยสารภาษาอังกฤษชื่อ
Business in Thailand สมัยที่เจ้าของคือกลุ่มบริษัทอิตัล-ไทย และ บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ทิสโก้
แบงเกอร์ทรัสต์
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2527)
PSA คอลัมน์
ก่อนจะพูดถึงการเติบโตของพีเอสเอ ผมควรจะพูดถึงตัวพีเอสเอเสียก่อน เพื่อให้คุณผู้อ่านได้มองเห็นภาพที่เด่นชัดมากยิ่งขึ้น
บางคนบอกว่า พีเอสเอ (PSA) คือ พอล สุธี และเอด้า (Pual-Suti-Ada)
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2527)
วันนั้นที่ชั้น 4 ของตึกดำ
10 พฤศจิกายน วันแรกที่ผู้ถือตั๋วสัญญาใช้เงินพัฒนาเงินทุนหลั่งไหลสู่ตึกดำ ตลอดช่วงเช้าตั้งแต่เก้าโมงเช้าเป็นต้นมา เพื่อขอเปลี่ยนตั๋วเป็นของสหธนกิจไทย ที่มี 14 ธนาคารร่วมถือทุนอยู่ตามประกาศของแบงก์ชาติ แต่แล้วผู้ถือตั๋วบางส่วนก็ต้องชะงัก หยุดความตั้งใจที่จะดำเนินเรื่องขอเปลี่ยนตั๋ว เนื่องจากข้อความบางตอนในใบแสดงเจตนาขั้นต้นของสหธนกิจไทยที่ว่า ผู้ถือตั๋วยินยอมที่จะให้สหธนกิจไทยทรงสิทธิ์อย่าง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2526)
บริติช แอร์เวย์ เที่ยวบินที่ 330 บุญชูกลับมาพร้อมกับคำตอบว่า “ผมไม่เกี่ยว”
คงจะเป็นเพราะความบังเอิญหรือตั้งใจก็ตาม การออกทัวร์ต่างประเทศในช่วงเวลาที่คาบเกี่ยวกับช่วงเวลา “ตึกดำ” กำลังร้อนรุ่มอันเนื่องมาจากกิจการอันถือเป็นเสาหลักอย่างพัฒนาเงินทุนและบริษัทการเงินในเครืออีก 2 แห่งต้องล้มลงทั้งยืน ได้ก่อให้เกิดเสียงวิจารณ์ที่ไม่เป็นผลดีอย่างยิ่งต่อภาพพจน์ของบุญชู โรจนเสถียร
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2526)
6 ข้อผิดพลาด ในการบริหารรามาทาวเวอร์
ว่ากันว่า นักบริหารฝีมือขนาดไหนก็ตาม ในที่สุดแล้วก็ต้องวัดกันที่ผลกำไร ที่ปันให้กับผู้ถือหุ้น ถ้าเป็นบริษัททั่วไปที่ไม่ได้เป็นบริษัทมหาชน ก็คงจะต้องนั่งคุย กันในหมู่คนไม่กี่คน ถ้ามีเงินปันผลก็คงจะนั่งยิ่มกันแก้มปริ พยายามบอกข่าวเล่าให้เพื่อนฝูงฟัง บางรายอดรนทนไม่ไหว ก็ถึงต้องส่งข่าวให้หนังสือพิมพ์ลง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2526)