ถึงเวลาที่แกรมมี่จะต้องทำอะไรเพื่อสังคมบ้าง
นั่นเป็นคำกล่าวของ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ประธานกรรมการบริหาร และกรรมการผู้จัดการบริษัทแกรมมี่เอ็นเตอร์เทนเม้นท์
จำกัด (มหาชน) ที่เคยได้กล่าวไว้เมื่อปีที่ผ่านมากับกลุ่มสื่อมวลชนในงานแถลงข่าวครั้งหนึ่งของแกรมมี่ฯ
ว่า เมื่อบริษัทมีความแข็งแรงและมั่นคงจนถึงระดับที่น่าพอใจแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ประกาศิตหลงจู๊ในทศวรรษหน้าแกรมมี่
ในรายชื่อผู้ถือหุ้นใหญ่ 5 รายแรก ชื่อของ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ติดอันดับแรก
ถือหุ้นถึง 57.22% และดำรงตำแหน่งเป็นกรรมการผู้จัดการของแกรมมี่ เอ็นเตอร์เทนเม้นท์
(GRAMMY) อย่างต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่ปี 2526 ที่แกรมมี่ก่อตั้งมา ขณะที่เต๋อหรือ
เรวัติ พุทธินันทน์ ที่รักษาตัวอยู่อเมริกาเป็นประธานกรรมการ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
ความหมายยุคพันธมิตร
ช่วงเดือนที่แล้ว บริษัทแกรมมี่ และกรุงเทพโทรทัศน์ (ช่อง 7 สี) ได้เข้าซื้อหุ้นไอบีซีจากชินวัตรประมาณ18% และจากนอมินิของชินวัตรอีกประมาณ 15% หลังจากบริษัททั้งสองได้เสนอแผนการทำเทนเดอร์ออฟเฟอร์ต่อก.ล.ต.ในอีก 2 เดือนข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
เพลงสุดท้ายของแกรมมี่
10 ปีก่อน แกรมมี่สร้างประวัติศาสตร์วงการเพลง ด้วยการเปลี่ยนแนวดนตรีพร้อมเสนอเนื้อหาสาระไปในเพลง
เปลี่ยนกลอนแปดเป็นกลอนเปล่า เปลี่ยนหูคนฟังที่เริ่มยอมรับดนตรีแนวตะวันตกมากขึ้น
เปลี่ยนการจัดจำหน่ายโดยใช้ระบบตลาดที่เป็นมาตรฐานเข้ามาช่วย การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ได้รับการยกย่องจากคนในวงการ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2537)
ไพบูลย์ ผู้โดดเดี่ยว
เมื่อ 10 ปีก่อนหากเอ่ยชื่อไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม กรรมการผู้จัดการบริษัทแกรมมี่
เอ็นเตอร์เทนเม้นท์ จำกัด หรือผู้ก่อตั้งค่ายแกรมมี่ขึ้นมา จะมีคนอยู่เพียงบางกลุ่มเท่านั้นที่รู้จักเขาเป็นอย่างดี
แต่หากเอ่ยชื่อค่ายแกรมมี่ บรรดาศิลปินในสังกัดมีใครเป็นใครบ้าง ทุกคนทุกวงการมักจะรู้หมดว่ามีชื่อเสียงเรียงนามว่าอะไร
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2537)
ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม เถ้าแก่ธุรกิจบันเทิงแบบสบาย…สบาย
ทุกข้อต่อการเติบโตของไพบูลย์ ดำรงชัยธรรมทั้งในชีวิตคนโฆษณา นักการตลาด
คนทำหนังสือ จนถึงวันที่ก้าวขึ้นเป็นผู้ประกอบการเต็มตัวมีคนมากมายหยิบยื่นโอกาสให้
และเขาไม่พลาดที่จะคว้าโอกาสนั้นอย่างถูกจังหวะ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)