New era of Banking Industry
การประกาศเปิดตัว KBank Group นอกจากจะเป็นการทำให้คำว่า Universal Banking ถูกเข้าใจความในเชิงรูปธรรมยิ่งขึ้นแล้ว ยังเป็นการบอกถึงแนวโน้มอุตสาหกรรมธนาคารพาณิชย์ของไทย ที่นับจากนี้จะต้องเดินไปในแนวทางนี้
(นิตยสารผู้จัดการ 5 กรกฎาคม 2548)
Return
นับตั้งแต่วันที่ 1 ธันวาคมที่ผ่านมา โลโกของ บล.เมอร์ริล ลินช์ ภัทร ได้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่พร้อมกับชื่อของบริษัทที่ได้หวนกลับมาใช้ว่า บล.ภัทร อีกครั้งหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
วิกฤติการณ์ภัทรธนกิจ กับบัณฑูร ล่ำซำ
ในวันแถลงข่าวเมื่อวันที่ 3 กันยายน 2540 ธนาคารกสิกรไทยประกาศเข้าถือหุ้น 49% ของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ภัทรธนกิจ
ในสถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่ผันผวนอย่างยิ่งนั้น ประกอบด้วย บรรยงค์ ล่ำซำ (ประธานธนาคารกสิกรไทย) โพธิพงษ์
ล่ำซำ (ประธานกรรมการภัทรธนกิจ) และวิโรจน์ นวลแข (ประธานเจ้าหน้าที่บริหารภัทรธนกิจ) โดยปราศจากเงาของ
บัณฑูร ล่ำซำ (กรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกสิกรไทย)นั้น มีความหมายที่ชัดเจนเป็นที่รู้ๆ กัน 2 ประการ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
บทเรียนจากภัทรฯ ความล่มสลายของเครือข่ายทางการเงิน
ความสั่นคลอนอย่างรุนแรงของบง.ภัทรธนกิจ หลังจากที่ผู้ถือหุ้นรายใหญ่อย่างธนาคารกสิกรไทยประกาศ "ลอยแพ" ไม่ยอมใส่
เม็ดเงินช่วยเหลือใดๆ อีกต่อไป เมื่อสิ้นเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา เป็นข่าวใหญ่ที่สั่นสะเทือนความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่อ
สถาบันการเงินไทยอีกครั้งหนึ่งและยังลามไปถึงความกังขาต่อวิธีปฏิบัติของทางการ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
จัดบ้านเสร็จรายแรกภัทรธนกิจเตรียมเดินหน้ารุกธุรกรรมแก้ปัญหาตลาดทุนไทย
ภัทรธนกิจจัดบ้านเสร็จเรียบร้อยรับมือภาวะเศรษฐกิจยุค IMF กำหนดชะตากรรมชาติไทย
แยกธุรกิจเงินทุนและหลักทรัพย์ออกจากกันพร้อมเคลียร์ภาพชัดเจน เงินทุนใช้นโยบายเพิ่มทุนโดยการขายหุ้นให้
ธ. กสิกรไทย ตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญงวดเดียว 6,000 กว่าล้านบาท ไม่หวั่นเรื่องขาดทุนสะสมเพราะยังมีผลกำไรเก็บตุนอยู่มาก
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2541)
"ที่ภัทรฯ ไม่มี DEAL ประเภทหวือหวา เราต้องการทำ QUALITY ORIENTED"
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ภัทรธนกิจในหลายปีที่ผ่านมามีชื่อในเรื่องการทำอันเดอร์ไรต์หุ้นเข้าตลาดอย่างมาก
ๆ มีหุ้นหลายตัวที่ภัทรฯ พาเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ แล้วเจอปัญหาทางเทคนิคโดยเฉพาะเรื่องราคา
เป็นเหตุให้นักลงทุนจำนวนมากพากันโวยวาย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
BARRA และภัทรฯ ร่วมสร้างโปรแกรมจัดการพอร์ตลงทุน
จะบริหารบัญชีลงทุนในหลักทรัพย์อย่างไรจึงจะทำให้มีความเสี่ยงน้อยที่สุด?
นี่คือประเด็นหลักที่คณาจารย์แห่งมหาวิทยาลัยเบิร์กเลย์ แคลิฟอร์เนียให้ความสนใจ
และร่วมกันพัฒนาคิดค้นโปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับระบบวิเคราะห์ความเสี่ยง และผลตอบแทนจากการลงทุนในหลักทรัพย์
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2534)