เกิดอะไรขึ้นกับตรีเพชรอีซูซุเซลส์
อุตสาหกรรมรถยนต์ไทยเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อปี 2540 เนื่องจากความอ่อนแอของตัวแทนจำหน่าย ในอดีตบริษัทข้ามชาติ
เลือกที่จะมอบหมายความรับผิดชอบการทำตลาดของตนไว้กับตัวแทนจำหน่ายท้องถิ่น เพราะมองเห็นความเชี่ยวชาญ
เข้าถึงลูกค้าได้ดีกว่า ที่สำคัญเพื่อลดความเสี่ยง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)
ยกเลิก local content เกมนี้เพื่อใคร?
รัฐบาลไทยประกาศจะยกเลิกการบังคับใช้ชิ้นส่วนในประเทศ โดยเริ่มตั้งแต่วันที่
1 มกราคม ค.ศ.2000 เป็นต้นไป ประเด็นนี้มีมุมมองหลากหลาย มร.ฮิซาชิ คูนิฟูสะ
กรรมการผู้จัดการบริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำกัด ผู้ผลิตรถยนต์และชิ้นส่วนรถยนต์รายใหญ่ให้ความเห็นกับ
"ผู้จัดการรายเดือน" เอาไว้ดังนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2541)
อีซูซุวิ่งสวนตลาด ยอดขายรวมหดตัว แต่ได้ส่วนแบ่งตลาดมากขึ้น
เป็นที่ทราบดีว่าประเทศไทยเกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจ และประสบปัญหาระบบสถาบันการเงินมาตั้งแต่ปีก่อน
(2540) ซึ่งส่งผลกระทบให้ตลาดรถยนต์โดยรวม "หดตัวลงอย่างเฉียบพลัน"
นอกจากนั้นการประกาศลอยตัวค่าเงินบาททำให้เงินบาทอ่อนตัวลงจากเมื่อต้นปีก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2541)
"มลพิษจากยานยนต์ 2500 DI ของอีซูซุ"
"ประหยัดน้ำมัน 7 ปีก่อน อีซูซุจับความต้องการตลาดของคนไทยได้ จึงผลิต
DI สู่ตลาดปิกอัพ การใช้กฎหมายควบคุมมลพิษของรัฐ อีซูซุกอบโกยอย่างสบายใจ
แต่คนไทยตายผ่อนส่งจากควันพิษ"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลรถปิกอัพต้องชั่งน้ำหนักข้อดีข้อเสียให้รอบคอบ
โครงการผลิตเครื่องยนต์ดีเซลสำหรับรถปิกอัพเป็นโครงการที่มีข้อดีตรงที่ช่วยประหยัดเงินตราต่างประเทศและการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่จะมีประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมโลหการของไทย
แต่มันเหมาะสมแล้วหรือที่คนไทยอาจจะต้องซื้อรถปิกอัพใช้ในราคาที่สูงขึ้นอย่างน้อย
10-20% จากต้นทุนของเครื่องยนต์ดีเซล "เมดอินไทยแลนด์"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2528)