พันธุ์ทิพย์พลาซ่า ลมหายใจที่ไม่หยุดนิ่ง
ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจจะผกผันเพียงใด คู่แข่งจะเกิดขึ้นมากขนาดไหน แต่พันธุ์ทิพย์พลาซ่าก็ยังคงรักษาความเป็นแหล่งค้าเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ชิ้นส่วน และซอฟต์แวร์ก๊อบปี้ไว้ได้อย่างครบถ้วน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
ดุลยเดช บุนนาค"ผมไม่เกี่ยวข้องกับพันธุ์ทิพย์แล้ว"
พันธุ์ทิพย์พลาซา ศูนย์การค้าเจ้าปัญหาในวันนี้ตกเป็นสมบัติในมือของยอดนักซื้ออย่าง
เจริญ สิริวัฒนภักดี ไปเรียบร้อยแล้ว แต่ยังเหลือควันหลงประปรายให้พาดพิงไปถึงคนที่เคยเข้าไปข้องเกี่ยวด้วยในกาลต่าง
ๆ กัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2532)
พันธุ์ทิพย์พลาซ่า ถึงยุคหัวเลี้ยวหัวต่อเจริญอาจขายทิ้ง
เจริญ สิริวัฒนภักดี เข้ามาซื้อหนี้ทั้งหมดของกลุ่มบุนนาคที่ติดค้างอยู่กับเจ้าหนี้รายใหญ่แบงก์ไทยทนุ
และบงล.ภัทรธนกิจ กว่า 500 ล้านบาทในโครงการอสังหาริมทรัพย์ พันธุ์ทิพย์พลาซ่าที่ล้มเหลวมาตลอด
เขาพยายามฟื้นฟูทรัพย์สินตัวนี้ โดยให้กลุ่มทีซีมัยซินของเฉลียว อยู่วิทยา
เข้ามาบริหาร
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
พันธ์ทิพย์พลาซา รุกก่อน แค่ 24 เดือน
ดูเหมือนว่าข่าวใน "ผู้จัดการ" ฉบับที่แล้วที่พูดถึงอัมรินทร์พลาซาแล้วพาดพิงไปถึงพันธ์ทิพย์พลาซาไม่เกิน
3 บรรทัด พอจะทำให้ "ผู้จัดการ" ได้รับการต่อว่ามาว่าได้ข้อมูลที่ผิดหลายอย่าง
และได้มีการให้ข้อมูลใหม่แก่ "ผู้จัดการ" จากพันธ์ทิพย์พลาซาเอง เช่น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2527)