ความเป็นมาของหอศิลป์
เมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2544 สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานรางวัลและเสด็จทอดพระเนตรนิทรรศการ "จิตรกรรมบัวหลวง ต้นแบบภาพปัก" เพื่อมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพฯ ที่ทางมูลนิธิธนาคารกรุงเทพจัดขึ้น เพื่อเป็นการสร้างสรรค์และสรรหาต้นแบบลายปักจิตรกรรมไทยประเภทต่างๆ ในโครงการปักผ้าไหมของมูลนิธิส่งเสริมศิลปาชีพ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2547)
Once in My Life
"ไทยพาณิชย์" เป็นธนาคารพาณิชย์แห่งที่ 3 ที่ ดร.วิชิต สุรพงษ์ชัย
มีโอกาสได้มานั่งในตำแหน่งผู้บริหารสูงสุด และดูเหมือนจะเป็นธนาคารเดียว
ที่เขาประสบความสำเร็จ สามารถทำงานได้ตามเป้าหมายที่เขาตั้งใจไว้มากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
เกมที่เปลี่ยนแทบทุกวัน
21 เม.ย.
- ศาลล้มละลายกลางมีคำพิพากษาถอดบริษัทเอฟเฟคทีฟ แพลนเนอร์ส (EPL) ออกจากการเป็นผู้บริหารแผนฟื้นฟูกิจการ
TPI เนื่องจากเห็นว่าไม่สามารถบริหารได้ตามแผน และได้แต่งตั้งประชัย เลี่ยวไพรัตน์
ผู้บริหารเดิมร่วมกับเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ (จพท.) เป็นผู้บริหารแผนชั่วคราว
ก่อนให้เจ้าหนี้ลงมติคัดเลือกผู้บริหารแผนรายใหม่ภายใน 30 วัน อย่างไรก็ตาม
EPL ยังเป็นผู้บริหารแผนของบริษัทในเครือ TPI อีก 6 แห่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ชาตรี โสภณพนิช "แบงก์ไม่เคยคาดคั้นเลยว่าจะต้องให้มาชำระเงิน"
"ผมรู้จักกับดำริห์มา 20 กว่าปีแล้ว ซ่งพ่อผมกับพ่อเขาก็รู้จักกันมาก่อน เรื่องที่กิดขึนนี้ผมเสียใจมาก ๆ ปัญหาที่เกิดขึ้นน่าจะค่อย ๆ แก้ไขไป ไม่น่าจะเอาชีวิตตัวเองเข้าไปแลกเพระาโดยปกติดำริห์เขาเป็นคนกล้าหาญและสู้งานนะ" นี่คือ คำกล่าวของชาตรี โสสภณพนิช
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
โสภณพนิช ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เกิดมาใหญ่แต่โตยาก
ตระกูลโสภณพนิช มีความช่ำชองเป็นพิเศษในธุรกิจการค้าเงินตราแต่การวางแผนรุก
ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในช่วงเวลาที่ผ่านมานับ 10 ปี ดูเหมือนว่าจะก้าวไปข้างหน้าอย่างเชื่องช้า
มา ณวันนี้ เมื่อมีบริษัทพัฒนาที่ดินในตลาดหลักทรัพย์หลายราย มีสภาพเหมือนคนอ่อนแอ
ที่ต้องการความช่วยเหลือจากผู้ที่เข้มแข็งกว่า โอกาสที่จะเข้าไปเป็นยักษ์ใหญ่ของพวกเขาดูง่ายขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"วิชิต สุรพงษ์ชัยมาแทนชาตรี"
ยังไม่ถึงเวลาของโทนี่ที่จะรับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ เพราะเขาต้องเรียนรู้สายงานให้กว้างขวางกว่านี้
" ชาตรี โสภณพนิช บิ๊กบอสส์ แห่งแบงก์กรุงเทพยักษ์ใหญ่แห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้กล่าวถึง
"ชาติศิริ" ลูกชายวัย 33 ปี ขณะที่ชาตรีอยู่ระหว่างการตัดสินใจว่าจะลงจากตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ระหว่างสิ้นปี
2535 หรือสิ้นปี 2536
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
ชาตรี-พิเชษฐ์ ใครลึกกว่าใคร ?
แบงก์กรุงเทพต้องเสียหน้า (มากทีเดียว) กับคดีฟ้องร้องวังน้ำฝน ซึ่งนอกจากทำตามกระบวนความแล้วยังมีอีกเหตุผลหนึ่งคือ ชาตรีเริ่มรู้ถึงความไม่ปลอดภัยของปัญหานี้ เพราะเห็นว่าพิเชษฐ์ชัก ไม่จริงจังกับปัญหาหลังจากที่ จม.เสนอแผนงานที่ส่งมาถึงแบงก์เมื่อเดือนสิงหาคมปีที่แล้วของเขาถูกตอบปฏิเสธ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
หลังชิน "เส้นทางการบริหารมรดกธุรกิจ?"
ชิน โสภณพนิช…ได้กลายเป็นประวัติศาสตร์ไปแล้ว หลังการตายของเขาเมื่อวันที่
4 มกราคม 2531 เรื่องราวและประสบการณ์ในการบริหารธนสารสมบัติของเขาในย่านแฟซิฟิกริม
เป็นตำนานเล่าขานที่ถูกบันทึกไว้เป็นประวัติศาสตร์เพื่อการศึกษาแก่ชนรุ่นหลังอย่างมากมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
5 "ช" ชิน - อาไน้ ทีเด็ดตัวแปร!?
คนอย่างชินใช่ว่า "ทั้งเก่งทั้งเฮง" เฉพาะเพียงความเป็นธนราชันย์เท่านั้น
ชีวิตจริงส่วนตัวก็ดูเหมือน "ทั้งเก่งทั้งเฮง" ไม่น้อยไปกว่ากัน
ชินอาจจะยิ่งใหญ่เหนือกว่า "บุเรงนอง" กษัตริย์นักรบ - นักรักในนวนิยายของยาขอบหลายร้อยเท่าพันทวี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
ประยูร คงคาทอง ชาตรีต้องการอะไรของเขา?
คงไม่มีใครแม้แต่จะคิดสักนิดว่าวันนี้ ประยูร คงคาทองจะมาอยู่กับแบงก์กรุงเทพ
ทั้งๆ ที่ก่อนหน้านี้มีข่าวคราวว่าหลังจากพักผ่อนระยะหนึ่งแล้ว เขาอาจจะบินไปอยู่กับภรรยาและลูกชาย
2 คนที่กำลังเรียนอยู่ในสหรัฐฯ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)