กำจร สถิรกุล " พอพลาดก็มีแต่คนทับถม"
" ดำริห์เป็นนักสุ้และมองการณ์ไกล การไปซื้อบัมเบิ้ลบี ก็เพือ่สร้างฐานการตลาดของยูนิคิร์ด เขาพยายามหาคนมาช่วยอย่างผมนี่ ดำริห์เขาไปเชิญด้วยตัวเองที่บ้าน แต่ทีนี้พอมีปัญหาแทนที่รัฐบาล หรือสถาบันการเงินในประเทศเราจะช่วยดูแลเหมือนประเทศเกาหลีที่ช่วยกันยึดพื้นที่ ก็มีเดียงใบประกาศเกียรติคุณปลอบใจเฉย ๆ พอเขาพลาดก็ไม่มีใครช่วยและมีแต่ทับถมๆ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"ข้างหลังภาพของกำจร สถิรกุล"
"เพียงภาพเดียวก็แทนคำพูดได้นับหมื่นคำ"
ภาพ "แม่ของลูก" โดยฝีมือวาดของกำจร สถิรกุล อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย
และปัจจุบันดำรงตำแหน่งเป็นประธานบริษัทยูนิคอร์ด ได้สะท้อนถึงความรู้สึกลึกซึ้งที่มีต่อมารดาบังเกิดเกล้า
"ห่วง สถิรกุล"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2535)
กำจร VS สุระ คมเฉือนคมภาคเฉพาะหน้า
สุระ จันทร์ศรีชวาลา เขาจะเชื่อเรื่องดวงหรือไม่ มิอาจทราบได้ แต่ถ้าเชื่อ ก็คงจะต้องยอมรับว่าหลายปีมานี้ดวงของเขาพระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรกอยู่ไม่ได้ หยุดจริง ๆ เป็นไปได้หรือไม่ที่ถ้าสุระไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับแบงก์แหลมทอง ป่านนี้สุระอาจจะกำลัง "สบายกว่ากันแยะเลย" ไปตั้งนานแล้ว และก็คงไม่ต้องมานั่งเล่นเกมเกทับบลัฟฟ์แหลกกับคนโตแบงก์ชาติภายใต้การนำของผู้ว่ากำจร สถิรกุล เช่นทุกวันนี้อีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
ใครเป็นทหารเอกของ สมหมาย ฮุนตระกูล
สำหรับคนอายุ 67 ย่าง 68 มะรอมมะร่อ แต่ยังต้องมาแบกรับหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศที่มีปัญหาเศรษฐกิจรอบตัวอย่าง
สมหมาย ฮุนตระกูล จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีคนมาช่วยทำงาน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2529)
ข้าวมันไก่มื้อนั้นเมื่อกำจรเปลี่ยนน้ำเสียง
บุญชูแสดงความจำนงขอลาออกจากตำแหน่งประธานกรรมการธนาคาร พร้อมกับชี้แจงอุปสรรคปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในแบงก์นครหลวงไทยอันสืบเนื่องมาจากการบริหารของกลุ่มมหาดำรงค์กุล อาทิ ประมาทเลินเล่อทำให้หนี้สินที่ควรจะได้รับต้องสูญเสียไปจำนวนมาก หนี้สินที่อดีตผู้จัดการสาขา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)