133 ปี เล่าขาน ตำนาน บี.กริม
ช่วงปลายศตวรรษที่ 19 ประเทศไทยยุคการปกครองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เริ่มเปิดประเทศอย่างจริงจังเพื่อพัฒนาไปสู่ความศิวิไลซ์ ทำให้ชาวยุโรปเดินทางเข้ามามองหาโอกาสใหม่ๆ และเป็นจุดกำเนิดของห้างบี.กริมแอนโกที่มีอายุ 133 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2554)
ฝรั่งวิพากษ์ฝรั่ง
มุมมองของ “ฮาราลด์ ลิงค์” ประธานกลุ่มบริษัทบีกริม วิพากษ์ถึงเศรษฐกิจในช่วงต้มยำกุ้ง “เข้มข้น” เพราะไม่มีอะไรเห็นชัดไปกว่า ฝรั่งมองเห็นพฤติกรรมฝรั่ง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2554)
ทำธุรกิจและสังคมขนานกัน ทำให้อยู่ได้นาน
ฮาราลด์ ลิงค์เล่าให้ฟังว่า เหตุผลส่วนหนึ่งที่ทำให้กลุ่มบี.กริม ดำเนินธุรกิจมา 133 ปีได้เป็นเพราะบริษัททำธุรกิจและสังคมขนานกันไป
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2554)
The Rising Star ผู้ผลิตไฟฟ้า SPP อันดับ 2 ของไทย
ธุรกิจกลุ่มบี.กริมมีหลากหลาย นับจากนี้ไปองค์กรแห่งนี้จะโดดเด่นในฐานะผู้ผลิตไฟฟ้า SPP อันดับ 2 ของประเทศไทย ที่ใช้งบลงทุนกว่า 8 หมื่นล้านบาท คาดว่าจะมีรายได้จากผลผลิตครั้งนี้ร่วม 3 หมื่นล้านบาทในอีก 4 ปีข้างหน้า
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2554)
เลือกผู้หญิงดูแลพลังงาน
หากกล่าวถึงธุรกิจพลังงานในประเทศไทย ผู้บริหารระดับสูงสุดย่อมเป็น “ผู้ชาย” เกือบทั้งหมด ไม่เว้นแม้แต่กลุ่ม ปตท.ยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรมพลังงาน ทว่ากลุ่มบี.กริม กลับเลือก “ผู้หญิง” ขึ้นมาทำหน้าที่
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2554)
สืบทอดกิจการทายาทรุ่น 4
ฮาราลด์ ลิงค์ ปีนี้อายุ 56 ปี ตั้งใจไว้ว่าจะลดการทำงานลงภายใน 4 ปีข้างหน้า แต่คงบทบาทกรรมการและที่ปรึกษา เขาเริ่มสอนงานให้กับคาโรลีน ลิงค์ ลูกสาววัย 29 ปีที่ต้องเข้ามาสืบทอดกิจการกลุ่มบี.กริม เพื่อวาดตำนานใหม่ในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา กรกฎาคม 2554)
กลุ่มบี. กริม รุกคืบสร้างโรง spp phase 2
สร้างโรง SPP Phase 2โครงการผู้ผลิตไฟฟ้าภาคเอกชน ซึ่งริเริ่มมาตั้งแต่ปี
2535 ได้มีการก่อสร้าง เสร็จและจำหน่ายกระแสไฟฟ้ากันบ้างแล้ว ส่วนมากเป็นโครงการผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กหรือ
Small Power Producer : SPP ซึ่งผู้ผลิตจะขายไฟฟ้าให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
(กฟผ.) ได้ไม่เกิน 90 เมกะวัตต์ (MW) ส่วนไฟฟ้าที่เหลือสามารถขายให้ผู้บริโภคที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงได้โดยตรง
กำลังการผลิตของ SPP เหล่านี้อยู่ในระดับ 120-150 MW
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
"ชินวัตรปะทะล็อกซเล่ย์ ใครจะแข็งกว่ากัน"
การเผชิญหน้าระหว่างชินวัตรกับล็อกซเล่ย์เกิดขึ้นอีกครั้งในโครงการโทรศัพท์ภูมิภาค
1 ล้านเลขหมาย การต่อสู้ครั้งนี้เป็นฉากพิสูจน์ความแข็งแกร่งทางการเงินระหว่างกลุ่มธุรกิจยักษ์ในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมไทย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)