เมื่อ "ประสิทธิ์ ณรงค์เดช" วางมือจากเซลล็อกซ์ ก็ถึงยุครวมดาวคิมเบอร์ลี่ย์-คล๊าค
เมื่อประสิทธิ์ ณรงค์เดช เจ้าพ่อวงการกระดาษอนามัย ประกาศวางมือจากการเป็นผู้กุมบังเหียนของบริษัทกระดาษเซลล็อกซ์
จำกัด เมื่อปลายปีที่ผ่านมา ทำให้ทุกคนจับตามองกันว่า ใครจะได้รับมอบหมายให้เข้ามารับหน้าที่แทนเขา
เพราะหากพิจารณาดูจากประสบการณ์ที่คร่ำหวอดอยู่ในวงการนี้มายาวนานถึง 30
ปีแล้วการผู้มีฝีมือและประสบการณ์ทัดเทียมกับเขาต้องยอมรับว่าไม่ใช่เรื่องง่ายนัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
ประสิทธิ์ ณรงค์เดช ประวัติศาสตร์กำลังซ้ำรอยเดิม
ปีนี้ ประสิทธิ์ ณรงค์เดชมีอายุครบ 57 ปี เขาควรใช้ชีวิตในวัยนี้อย่างสุขสบายได้แล้ว
หากมรสุมทางธุรกิจ จะไม่บังเอิญโหมกระหน่ำใส่เขาเฉกเช่นที่เป็นอยู่ขณะนี้
แต่ดูเหมือนบทเรียนซ้ำ ๆ ซาก ๆ ที่เกิดจากการดำเนินธุรกิจตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาเกือบ
30 ปีจะไม่ทำให้ประสิทธิ์ได้เรียนรู้อะไรขึ้นมาเลย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
สงครามกระดาษชำระไม่ใช่ศึกสายเลือด
สรรพสิ่งในใต้หล้าบางครั้งไม่เป็นไปตามที่คาด ยิ่งเรื่องราวบางเรื่องแล้วเบื้องหลังนั้นซับซ้อนกว่าที่คิด
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2531)
ประสิทธิ์ ณรงค์เดช ลุยลูกเดียว
24 ปีก่อน ประสิทธิ์ ณรงค์เดช หันเหวิถีชีวิตจากเป็นลูกจ้างมาเป็นเถ้าแก่ ด้วยการให้กำเนิดบริษัทอนามัยภัณฑ์ซึ่งเกิดจากร่วมมือระหว่างประสิทธิ์ในฐานะเป็นหัวเรือใหญ่กับเหล่าญาติ ๆ ด้วยทุนจดทะเบีย 2,200,000 บาท แต่มาเริ่มดำเนินการจริง ๆ ก็เมื่อปี 2509
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2531)
ประสิทธิ์ ณรงค์เดช กู้ศักดิ์ศรีอย่างมั่นใจ
ความแปลกแยกในสังคมไทยนั้นเอาแน่เอานอนไม่ค่อยได้เท่าไรนัก คนที่เราคิดว่าเขาสู้จนหมดเค้าหน้าตักมีหวังต้องเดินตัวเปล่าเล่าเปลือยกลับบ้านสถานเดียวนั้น บางครั้งเขาอาจใช้เวลาไม่นานนักพลิกสถานการณ์เลวร้ายกลับมาเป็นฝ่ายมีชัยได้อย่างเหลือเชื่อ
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
"กระดาษไทย-สก็อตต์ กระดาษเหนียวกว่าพี่น้อง"
และแล้วน้ำก็ต้องแยกสาย ไผ่ก็ต้องแยกกอเมื่อสองศรีพี่น้องแห่งตระกูลณรงค์เดชต้องแยกทางกันเดิน
เพราะวิธีการทำงานที่ไปด้วยกันไม่ได้ โดยมี บริษัท กระดาษไทยสก็อตต์เป็นจุดแยก
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
บุญชู-ประสิทธิ์-วิโรจน์ ขาดก็แต่ชม้อยเท่านั้น
วันนั้นบุญชู (ไม่ใช่วังกานนท์) กับประสิทธิ์ (ไม่ใช่จิตที่พึ่ง) และวิโรจน์
(ไม่ใช่เสือมา) ได้โคจรมาพบกันในงานสมาคมศิษย์เก่าจีบ้า ซึ่งจัดการอภิปรายขึ้นที่ดุสิตธานี
ในหัวข้อของ "กลยุทธ์ธุรกิจเหนือวิกฤตการณ์ปัจจุบัน"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2528)
20 ปีของธุรกิจที่ใช้กระบอกปืนเป็นเสาค้ำ
20 ปีของธุรกิจที่ใช้กระบอกปืนเป็นเสาค้ำ
คงจะมีน้อยคนที่รู้ว่า ยุทธจักรแม่โขงที่รบรากันทุกวันนี้เริ่มมาจากคำพูดสั้นๆ
เพียงประโยคเดียวของ สหัส มหาคุณ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)
2522 แม่โขงสีเลือด ศึกศักดิ์ศรีและชื่อเสียงวงศ์ตระกูล
ในที่สุดการประมูลแม่โขงในช่วงที่ 3 ก็เริ่มในรัฐบาลชุดเกรียงศักดิ์
2
"งานนี้เตชะไพบูลย์ประกาศอย่างหนักแน่นว่า แพ้ไม่ได้ เพราะเป็นศักดิ์ศรี
เสียเท่าไรเท่ากัน แต่จะให้ฝ่ายเถลิงประมูลไปไม่ได้"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)