Re-positioning
- การขยายธุรกิจเป็นโลว์คอสซีนีม่า
เรื่องนี้ผมตั้งคำถามมานานแล้ว ในอเมริการะบบโรงหนังไม่เหมือนกับเราตีตั๋วเป็นแบบไม่ระบุที่นั่ง (free seating) แต่เมืองไทยต้องระบุ (fixed seating) ผมก็มองว่า ถ้าเราไม่ต้องใช้คนขายตั๋ว 15 คน ลดเหลือ 10 คน แค่ 10 จุด เราลดได้ 50 คนแล้ว แล้ววันธรรมดาคนดูก็ไม่เต็ม ผู้บริโภคไม่ต้องการตั๋วระบุที่นั่งในวันธรรมดาหรอก เขาอยากเลือกที่นั่งได้ไปนั่งแล้วไม่ชอบก็เปลี่ยนได้ เราก็ถามตัวเองมาตลอดว่าทำไมไม่มีคนทำ นั่นคือโจทย์อันที่หนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
ปัจจัยภายนอก
บทสัมภาษณ์ ดร.ก้องเกียรติ โอกาสวงการ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
ใหญ่อย่างมีนัยสำคัญ
เป็นความเคลื่อนไหวที่เรียกความฮือฮาได้มากพอควร กับข่าวการประกาศควบรวมกิจการซึ่งกันและกันของเมเจอร์ ซีนีเพล็กซ์ กับค่ายอีจีวี เอ็นเตอร์เทนเมนต์ ที่ทั้งคู่ต่างก็เป็นบริษัทจดทะเบียนอยู่ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2547)
EGV eCinema
แรงบีบคั้นจากการแข่งขัน ทำให้โรงภาพยนตร์หันมาปฏิวัติตัวเอง พลิกโฉมหน้าจากโรงหนังรูปแบบเก่าๆ
กาวเข้าสู่มาตรฐานใหม่ นำเอาระบบ IT มาประยุกต์ใช้อย่างมีเป้าหมาย สร้างเครือข่ายของการให้บริการ
อย่างไร้ขีดจำกัด ซึ่งถือเป็นการปฏิวัติครั้งที่สอง ของโรงภาพยนตร์ โดยมี
EGV เป็นผู้เริ่มต้นอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2545)
"โรงภาพยนตร์" สงครามที่กำลังร้อนระอุ
ในรอบ 102 ปี ของธุรกิจภาพยนตร์ที่เกิดขึ้นในเมืองไทยได้สร้างคนสำคัญที่มีส่วนสร้างยุคต่างๆ
ให้กับวงการมากมาย วันนี้วิชัยกับวิชา พูลวรลักษณ์ แห่งค่าย "อีจีวี"
และ "เมเจอร์ซินีเพล็กซ์" เป็นผู้สร้าง อีกยุคหนึ่งของธุรกิจภาพยนตร์
ด้วยแนวคิดของคนรุ่นใหม่ โดยที่ต่างคนต่างมุ่งมั่นในแนวทางที่มั่นใจและทุ่มทุนแข่งขันกันในทุกรูปแบบด้วยระบบ
เทคโนโลยีที่สุดยอด
รวมทั้งการตกแต่งโรงภาพยนตร์ด้วยรูปลักษณ์ใหม่ อย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
ค่าย EGV วันนี้ถอยทัพแล้วหรือ?
อีจีวี เป็นผู้บุกเบิกโรงหนัง ระบบมัลติเพล็กซ์ ในเมืองไทย แห่งแรกคือที่
ฟิวเจอร์ ปาร์ค บางแค ซึ่งบริหารร่วมโดยวิสูตร และวิชัย พูลวรลักษณ์ กับกลุ่ม
โกลเด้น ฮาร์เวสต์ จากฮ่องกง และ วิลเลจ โรดโชว์ จากออสเตรเลีย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2541)
พูลวรลักษณ์หนังเรื่องเก่าในโรงใหม่
วิสูตร และ วิชัย พูลวรลักษณ์ วันนี้ได้เปิดมิติใหม่ของการบริหารงานดรงภาพยนตร์ยุคที่สามที่เรียกว่าระบบมัลติเพล็กซ์
โรงภาพยนตร์ที่ไม่ใช่เพียงธุรกิจในครอบครัวอีกต่อไป แต่เป็นการระดมเทคโนโลยีและทุนจากต่างชาติร่วมพันล้านบาท
เพื่อปลุกตลาดของอุตสาหกรรมภาพยนตร์ที่เก่าแก่ร่วมครึ่งศตวรรษ ให้คึกคักอีกครั้งหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)