GF ยุคที่ 3 หยั่งรากลงลึก หรือดึงคนเเสริมทัพ
ปีนี้ใคร ๆ ก็รู้ว่าเป็นปีครบรอบ 30 ปีของ จีเอฟ หรือบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ จี เอฟ จำกัด (มหาชน) โบรกเกอร์หมายเลข 20 ของตลาดหลักทรัพย์ ด้วยเหตุที่ว่า จีเอฟได้เตรียมการและโฆษณามาตั้งแต่ปีที่แล้ว เฉพาะในปีนี้ ทางผู้บริหารได้เพิ่มงบประชาสัมพันธ์ให้มากเป็นพิเศษถึง 10 ล้านบาท จากปีก่อน ๆ ที่อยู่ในวงเงินประมาณ 5 ล้านบาทเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2539)
ณรงค์ชัย อัครเศรณี "คีนูรีฟ" แห่งจีเอฟยุคที่สาม
"ผมขอแนะนำตัวผม...ดร.ณรงค์ชัย นะครับ เดี๋ยวเพื่อนๆ นักข่าวจะจำไม่ได้
สำหรับผู้แถลงข่าวร่วมกับผมก็คือ คุณชายสุชาติจันทร์ ประวิตร ซึ่งท่านเป็นเพรสซิเดนท์
ท่านก็เพิ่งไปผ่าตัดหัวใจมา หน้าตาสดใสมาก หัวใจเก่าหายไปแล้ว มีหัวใจใหม่ที่สดใสแข็งแรง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2539)
ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี แล้ว "นำจีเอฟ" กับ "นำไทย" จะไปทางไหน?
เป็นประเพณีทุก ๆ กลางปีและปลายปี ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี ในฐานะประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบงล. จีเอฟ จะโชว์เดี่ยวคาดการณ์แนวโน้มทางเศรษฐกิจของไทย สำหรับครึ่งปีหลังของรอบปีนี้เป็นที่คาดว่าจะขยายตัว 8.5% ได้ถ้าหากรัฐบาลใหม่มีประสิทธิภาพในการบริหาร เพราะการที่ส่งออกและการลงทุนภาคเอกชนจะเป็นตัวนำ และการใช้จ่ายในโครงการของรัฐบาลที่คั่งค้างจะมีความสำคัญสูง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
จีเอฟโฮลดิ้งส์ ก้าวกระโดดของธุรกิจการเงินตระกูลโอสถานุเคราะห์
การจะก้าวออกจากการมีชื่อว่า เป็นธุรกิจครอบครัวนั้น มีวิธีการที่ง่ายมาก
คือ จ้างมืออาชีพเข้ามาและให้ร่วมในบอร์ดบริหารด้วย กระจายหุ้นส่วนหนึ่งเข้าตลาดหลักทรัพย์ฯ
และร่วมทุนกับต่างชาติ นี่คือวิธีที่ตระกูลโอสถานุเคราะห์ใช้ในสายธุรกิจการเงิน
ซึ่งจะได้ผลมากน้อยแค่ไหนนั้นเป็นเรื่องที่ต้องคอยดูกันต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2532)
ณรงค์ชัย อัครเศรณี "เขามือไม่ถึงที่จะเป็นผู้จัดการทั่วไปบรรษัท"
ขณะที่กระแสข่าว บรรษัทนกำลังคึกโครมอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ด้วยปัญหากระทรวงการคลังมีท่าทีเย็นชาต่อการหาทางออกให้บรรษัท
กรณีการขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน และขณะที่ศุกรีย์ แก้วเจริญ ผู้จัดการทั่วไป
และเป็นกรรมการบรรษัทอยู่ด้วยกำลังวิ่งพล่านพบคนโน้นทีคนนี้ที เพื่อขอความเห็นใจและเข้าใจในสิ่งที่เขาและผู้บริหารบรรษัททุกคนได้กระทำลงไป
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2532)
หกที่ปรึกษานายกฯ "พวกผมไม่ต้องการอำนาจ"
คนไทย…รอคอยผู้บริหารประเทศที่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน เพื่อประชาชนมานานนับสิบปี
คณะรัฐบาลในวันนี้ มีเรื่องที่ต้องแก้ไขอยู่ทุกวี่ทุกวัน วันละนับสิบนับร้อยเรื่อง
จำเป็นอยู่เองที่จะต้องมี "ที่ปรึกษา"
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)