บรรหาร ศิลปอาชาอดีตนายกฯ ที่ใช้มือการเงินเปลืองที่สุด
บรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 รับหน้าที่บริหารประเทศตั้งแต่วันที่ 2 ก.ค. 2538 เวลาผ่านพ้นมาเป็นเพียงเวลาปีเศษเท่านั้น แต่เป็นที่น่าสังเกตว่าตั้งแต่บรรหารเข้ามาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีนั้น เขาได้ใช้มือดีทางการเงินมาแล้วถึง 4 คน ในระยะเวลาอันสั้นหลังจากที่ได้รับตำแหน่ง ที่คนเหล่านั้น ได้ถูกปลด บีบบังคับ และเก็บกดจนต้องลาออกไปเองและบทสรุปที่ทุกคนได้รับนั้นล้วนไม่สวยงาม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
"วิจิตร-เอกกมล" ถอยหลังเป็นหกล้ม!
เพื่อนร่วมอาชีพท่านหนึ่งได้เขียนถึงผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย วิจิตร
สุพินิจอย่างเห็นอกเห็นใจว่า ถูกรุมกระทืบในกรณีที่สั่งปลดเอกกมล คีรีวัฒน์ออกจากตำแหน่งรองผู้ว่าการแบงก์ชาติ
ทันทีทันควันที่ถูกสั่งปลดจากเลขาธิการ ก.ล.ต. โดยสุรเกียรติ์ เสถียรไทย
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2539)
เอกกมล คีรีวัฒน์ กับยุคมืดของแบงก์ชาติ
"สนธิ ลิ้มทองกุล" เจ้านายของทุกคนในเครือผู้จัดการหรือ MANAGER
MEDIA GROUP เคยพูดอยู่ครั้งหนึ่งว่า คนที่เป็นหัวหน้าคนนั้นเวลามีภัยมาต้องแอ่นอกรับ
แต่หากมีความดีความชอบควรยกให้ลูกน้อง แต่คำพูดนี้คงใช้ไม่ได้กับแบงก์ชาติในปัจจุบันเพราะคนบางคนเงยหน้าก็อายฟ้าก้มหน้าก็อายดิน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
เอกกมล คีรีวัฒน์กับยุคมืดของแบงก์ชาติ
ความผิดพลาดครั้งใหญ่ในชีวิตการเป็นเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์(ก.ล.ต.)ของเอกกมล คีรีวัฒน์คือความไม่เด็ดขาดที่จะตัดสินใจลาออกเมื่อครั้งบรรหารมารับตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใหม่ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
รอสซาริโอ โลเปซ VS. เอกกมล คีรีวัฒน์
จะเป็นเพราะทุกวันนี้โลกการเงินแคบลงหรืออย่างไรก็ไม่ทราบ
ตลาดทุน 2 ประเทศในอาเซียน ไทย-ฟิลิปปินส์ จึงเกิดเหตุวิกฤตในเวลาใกล้เคียงกันโดยมิได้นัดหมาย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2538)
"ไอออสโค้ 1995" ชุมนุมมือปราบ ก.ล.ต.นานาชาติ
เอกกมล คีรีวัฒน์ ทำงานเป็นเลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.ขึ้นปีที่
4 ก็สร้างผลงานกำกับดูแลโดดเด่น วันดีคืนดีปีใหม่นี้ (2538) ก็จัดแถลงข่าวประจำปีที่โปโลคลับ
สโมสรของยัปปี้ไทยระดับสูง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
สงครามวาทะที่สมาคมแบงก์ซดกับธนาคารชาติ-สนุกกว่าฟังโต้วาที
บ่อยครั้งที่การอภิปรายออกมาที่เกือบจะเป็นการโต้วาที เมื่อใดที่มีการอภิปรายทำนองนี้คนฟังมักจะเป็นฝ่ายสนุกสนานเฮฮา
แต่คนพูดไม่แน่ว่าจะสนุกไปด้วย ยิ่งคนพูดฝ่ายหนึ่งเป็นตัวแทนจากแบงก์ชาติ
กับอีกฝ่ายหนึ่งเป็นตัวแทนสมาคมธนาคารไทยและบริษัทเงินทุน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2529)