เราควรจะมีคนอย่าง "สามสุ"นี้มากๆ
เรื่องนี้เป็นข้อคิดเห็นจาก "ผู้จัดการ" ที่เราพยายามมองกรณีของ
สุธี นพคุณ สุพจน์ เดชสกุลธร และสุระ จันทร์ศรีชวาลา ให้เป็นส่วนหนึ่งของภาพรวมของสังคมธุรกิจเมืองไทย
(บทความจาก Newcomer. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กุมภาพันธ์ 2545)
เราควรจะมีคนอย่าง "สามสุ"มากๆ
ความจริงเรื่องนี้เป็นเรื่องเก่าไปแล้ว เดี๋ยวนี้ใครพูดถึง สุธี นพคุณ
สุระ จันทร์ศรีชวาลา และ สุพจน์ เดชสกุลธร อาจจะไม่มีใครสนใจเลยก็ได้เพราะสุแรกกับสุหลัง
กลายเป็นอดีตที่จบไปแล้ว ขณะที่สุคนกลางขณะนี้เป็นนักธุรกิจแก่ๆคนหนึ่งที่ครั้งหนึ่งเคยสร้างตำนานนักเทคโอเวอร์ตัวยง
(บทความจาก อ่านวิกฤตเพื่อโอกาสใหม่. หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic ตุลาคม 2544)
"สุระ จันทร์ศรีชวาลา/คนดวงแข็ง"
เมื่อ 10 กว่าปีที่แล้วหากพูดว่าผู้ที่กุมบังเหียนการบริหารที่แท้จริงของธนาคารแหลมทองคือสุระ(จันทร์) จันทร์ศรีชวาลา คงเรียกเสียงหัวเราะหึ ๆ หะ ๆ จากคนในแวดวงการเงินได้บ้างหรือยิ่งทำนายทักว่าสุระ จันทร์ศรีชวาลา คือผู้ที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในบรรดา 3 "สุ" ที่ประกอบด้วยอีก 2 "ส"
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
"ปิ่น - สุระจันทร์ เทกโอเวอร์เหมือนกัน แต่ตอนจบต่างกัน"
"ราชาแห่งการเทกโอเวอร์ของเมืองไทย" ฉายาของปิ่น จักกะพากที่นิตยสารฟอร์จูนประจำเดือนพฤศจิกายน
2536 ตั้งชื่อให้เมื่อเทียบปิ่น จักกะพาก กับสุระจันทร์ จันทร์ศรีชวาลา (เดิมชื่อสุระ
แต่ภายหลังได้ต่อท้ายชื่อเก่าด้วยคำว่า "จันทร์" ซึ่งเป็นชื่อพี่ชายผู้มีพระคุณ)
ทั้งสองมีภาพพจน์เหมือนกันคือเป็นนักเทกโอเวอร์ตัวยงผู้มองเห็นโอกาสช่องทางธุรกิจก่อน
แล้วเดินหมากเกมการเงินรุกฆาตคู่แข่งได้เหนือเมฆ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
กำจร VS สุระ คมเฉือนคมภาคเฉพาะหน้า
สุระ จันทร์ศรีชวาลา เขาจะเชื่อเรื่องดวงหรือไม่ มิอาจทราบได้ แต่ถ้าเชื่อ ก็คงจะต้องยอมรับว่าหลายปีมานี้ดวงของเขาพระศุกร์เข้าพระเสาร์แทรกอยู่ไม่ได้ หยุดจริง ๆ เป็นไปได้หรือไม่ที่ถ้าสุระไม่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับแบงก์แหลมทอง ป่านนี้สุระอาจจะกำลัง "สบายกว่ากันแยะเลย" ไปตั้งนานแล้ว และก็คงไม่ต้องมานั่งเล่นเกมเกทับบลัฟฟ์แหลกกับคนโตแบงก์ชาติภายใต้การนำของผู้ว่ากำจร สถิรกุล เช่นทุกวันนี้อีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2531)
แหลมทองวันนี้ สุระยังหนังเหนียวจริงหรือ!!
ภายหลังการประชุมสามัญประจำปี ผู้ถือหุ้นธนาคารแหลมทองเมื่อวันที่ 21 มีนาคม
2531ผ่านพ้นไป คนที่ออกมานั้นสำหรับแบงก์ชาติผู้จับจ้องที่จะ "ฟัน"
ใครต่อใครให้กระเด็นไปจากแบงก์ก็คงจะกระอักกระอ่วนไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2531)
จากซื้อทุกอย่างกลายเป็นต้องทำทุกอย่าง
ดูเหมือนจะได้กลายเป็นประเพณีไปแล้วที่วันหนึ่งในรอบปี ชมรมประชาสัมพันธ์ธนาคารพาณิชย์ไทย
ซึ่งเป็นชมรมของเจ้าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ของ 16 แบงก์พาณิชย์สัญชาติไทยทั้งหลายจะจัดงานสังสรรค์กัน
และถือโอกาสเชื้อเชิญบรรดาผู้สื่อข่าวเข้าร่วมและกระชับสายสัมพันธ์ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2531)
อวสานนายแบงก์
เราต้องไม่ลืมว่า สภาพสังคมธุรกิจแบบอเมริกัน ซึ่งกระหายเงินขาดมนุษยธรรมและเต็มไปด้วยการชิงดีชิงเด่นกัน
จะมีส่วนบีบคั้นวิลลี่โลแมน (WILLY LOMAN) ให้เดินทางไปพบจุดจบที่น่าเศร้าสลดใจในอวสานเซลล์แมน
(DEATH OF A SALESMAN) ของอาเธอร์ มิลเลอร์ (ARTHUR MPLLER) นักเขียนรางวัลพูลิทเซอร์
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ความใฝ่ฝันของสุระ จันทร์ศรีชวาลาอาจมาถึง ถ้าไม่สะดุดดอกเบี้ยล้มเสียก่อน !?
สุระ จันทร์ศรีชวาลา เติบโตจากรากฐานธุรกิจอันเกี่ยวข้องกับมหาชน ตั้งแต่ธุรกิจที่ดี
บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ และประกันชีวิต-ประกันภัย ในยามเขาเผชิญวิกฤติการณ์ด้านเศรษฐกิจ
เขาจะมุ่งรักษาธุรกิจเหล่านี้ไว้อย่างสุดแรง และยังไม่มีทางแยกว่า จะทิ้งแนวเดิมแต่อย่างไร
เขายังเล่นกับมหาชนต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)