ธุรกิจเจ้าปัญหาของกลุ่มเตชะไพบูลย์
กลุ่มเตชะไพบูลย์ ก้าวมาถึงทางตันทางด้านธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อีกครั้ง การก่อสร้างอภิมหาโปรเจ็กต์ ตัวอย่างเช่น "เวิลด์เทรดเซ็นเตอร์" และ "ฮาเบอร์วิว" ที่ครองแชมป์การก่อสร้างล่าช้าที่สุดอยู่แล้วต้องยืดเยื้อไปอีก ส่วนโครงการ "โอเอซิส" เองที่ใกล้จะเสร็จก็ต้องหยุดการก่อสร้างไว้ชั่วคราวเช่นกัน ทางด้านโครงการยักษ์ "ศรีราชานคร" ก็ต้องใช้เงินจำนวนมากอัดฉีด คราวนี้เห็นทีแบงก์ศรีนครเองก็คงช่วยอะไรไม่ได้แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2540)
"เตชะไพบูลย์ ขายบางปูมา 20 ปี วันนี้ 'วันจักร วรดิลก' ก็ยังต้องมาขายต่อ"
จะว่าไปแล้ว การรวบรวมที่ดินผืนใหญ่นับหมื่นไร่ ริมถนนสุขุมวิทเมื่อประมาณ 30 กว่าปีที่แล้ว มาพัฒนาเป็น "นิคมอุตสาหกรรมบางปู" เป็นวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของ อื้อจือเหลียง, อุเทน เตชะไพบูลย์ และ เล็ก เศรษฐภักดีเป็นอย่างมาก เพราะเป็นที่ดินแปลงปัจจุบันที่กำลังทยอยทำรายได้ให้กับตระกูลเตชะไพบูลย์ ผู้ถือหุ้นใหญ่อยู่อย่างสม่ำเสมอ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
เตชะไพบูลย์ : ทางใครทางมัน
แม้ว่า "เตชะไพบูลย์"จะเป็นตระกูลเก่าแก่ที่มีเครือข่ายธุรกิจใหญ่โตระดับแสนล้าน
มีผู้นำของตระกูลที่มีภาพภายนอกเป็นคนที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงทั้งใน "เชิงการค้า"
การเป็น "ผู้นำชุมชนจีน" และเป็น "นักบุญ" ที่ช่วยเหลือสาธารณกุศล
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
น้องๆ อุเทน ใครเป็นใคร
แต้จือปิงมีภรรยารวม 3 คนด้วยกัน
ภรรยาคนแรกมีลูก 8 คนคือ อุเทน, กมลา (เสียชีวิตแล้ว), สุเมธ, คำรณ, กานดา,
กาญจนา (เสียชีวิตแล้ว), กัญญารัตน์, อุธรณ์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
อุเทน เตชะไพบูลย์ ขุนแผนจาก "เตี้ยเอี้ย"
"แต้โหงวเล้า" หรือ อุเทน เตชะไพบูลย์ ถือกำเนิดจากอำเภอเตี้ยเอี้ย
มณฑลกวางเจา เป็นลูกชายคนโตของ "แต้จือปิง" ที่เกิดจากภรรยาเมืองจีน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2533)
ตำนานเหล้าการเมือง "หงส์กระหายเลือด"
และแล้วสงครามเหล้าก็เกิดขึ้น แสงโสมที่ตอนหลังต้องกลายเป็นโสม การเข้าซื้อโรงงานสุราธาราวิสกี้ที่นครไชยศรี คือการวางแผนล่วงหน้าอันแยบยลของกลุ่มเถลิง
เมื่อพลาดจากการประมูลเข้าทำสุราแม่โขง แผนการถล่ม "แม่โขง" จึงเกิดขึ้นทันที
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2528)
วรรณ ชันซื่อ ทำงานเงียบ ๆ รวยเงียบ ๆ
วรรณ ชันซื่อ มักจะเก็บตัวอยู่ในห้องทำงานที่อาคารสารสินเงียบ ๆ เขาไม่ออกสังคม ไม่รับเชิญไปอภิปรายถ่ายทอดประสบการณ์และความรู้ให้กับคนรุ่นหลัง ๆ และไม่พยายามที่จะทำตัวเป็นคนเด่นคนดังในยุทธจักร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
เราได้เรียนรู้อะไรบ้างในกรณีธนาคารนครหลวงไทย?
กรณีธนาคารนครหลวงไทยมีตัวละครอยู่ 3 ตัวที่สามารถให้บทเรียนแก่เราได้ดีมาก ทั้งในแง่ของการบริหารและในหลักสัจธรรมแห่งชีวิต
ตัวละครทั้งสามคือ บุญชู โรจนเสถียร มหาดำรงค์กุล กำจร สถิรกุล และธนาคารแห่งประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
“อุเทน เตชะไพบูลย์กับนิคมอุตสาหกรรมบางปู”
กลุ่มตระกูลเตชะไพบูลย์เป็นกลุ่มธุรกิจที่ทำธุรกิจมานานหลายสิบปี ในการทำธุรกิจของกลุ่มนี้จะมีลักษณะโดดเด่นอยู่ประการหนึ่งคือการดำเนินการให้ดีที่สุดและมีความต่อเนื่องตลอดไป พูดง่ายๆ ว่า จับอะไรแล้วไม่เคยปล่อยกลางคัน นิคมอุตสาหกรรมบางปูก็เป็นโครงการอันหนึ่งซึ่งกลุ่มเตชะไพบูลย์เข้ามาเกี่ยวข้อง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2527)