Generation นี้ต้องเข้าตลาดหุ้น
กิจการเครือตระกูล "พรประภา" เคยมีข่าวหลายปีมาแล้วว่า มีแผนจะนำเข้าไปจดทะเบียนในตลาดหุ้น แต่เพิ่งมี "ฐิติกร" เป็นบริษัทที่ 2 ภายใต้การผลักดันของทายาทรุ่นที่ 3
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
"คราวเคราะห์ของ 'ชุมพล พรประภา' งานนี้ยามาฮ่าหัวเราะคนเดียว"
แล้ว "ซูซูกิ" ก็แพ้ภัยตัวเองทั้ง ๆ ที่ทนอุตส่าห์ขับเคี่ยวกับคู่แข่งที่สูสีอย่างยามาฮ่ามานานหลายปี ในสมรภูมิรถจักรยานยนต์ไทย ตลาดรถจักรยานยนต์ของไทยมาถึงวันนี้ ค่อนข้างจะแน่นอนว่าฮอนด้าได้ครองอันดับหนึ่งอย่างมั่นคง อย่างน้อยก็อีกหลายปีข้างหน้า ซึ่งถ้าไม่มีอะไรพลิกผันอย่างถล่มทลาย คงยากที่ซูซูกิและยามาฮ่าจะขึ้นมาเทียบเคียงรัศมีของฮอนด้า
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2539)
ชุมพล พรประภา กับมาตรการป้องกันศึกสายเลือด
หลังจากดำเนินธุรกิจมาจนเกือบจะครบ 30 ปี บริษัท เอส.พี.ซูซูกิ จำกัด (มหาชน)
ซึ่งเป็นสมบัติของตระกูล "พรประภา" อีกซีกหนึ่ง ภายใต้การนำของ"ดร.ชุมพล"
ได้จัดให้มีพิธีลงนามแต่งตั้งผู้จัดจำหน่าย และรับประกันการจำหน่ายหุ้นสามัญเพิ่มทุนกับตัวแทนจากสถาบันการเงินทั้งไทยและต่างประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2539)
สยามยามาฮ่าจบแบบพี่น้อง ไม่เสียหายแต่ "เสียความรู้สึก"
ข่าวการประนีประนอมกันระหว่างกลุ่มเคพีเอ็นของเกษมและคุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช กับพรเทพ พรประภา ผู้บริหารของสยามกลการในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่สยามยามาฮ่าเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2538 ซึ่งมีนายชาตรี โสภณพนิช ประธานกรรมการธนาคารกรุงเทพจำกัด (มหาชน) เป็นผู้ไกล่เกลี่ย ผลลัพธ์ก็คือ กลุ่มเคพีเอ็นยอมตกลงซื้อหุ้นในบริษัท สยามยามาฮ่า จำนวน 67.78% จากสยามกลการ และ 16.09% จากดร.ถาวร พรประภา ในราคาร1,217 ล้านบาท และ 289 ล้านบาท ตามลำดับ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ชุมพล พรประภา กับ "คำกล่าวหา"
นอกจาก "พรประภา" ที่มีบทบาทโดดเด่น และมีชื่อปรากฏอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์บ่อยครั้งที่สุด
2 คน คือ "คุณหญิงพรทิพย์ ณรงค์เดช" และ "พรเทพ พรประภา"
แล้ว ยังมีคนในตระกูลนี้อีกคนที่โดดเด่นพอๆ กัน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
20 ปีซูซูกิเมืองไทย กับหนุ่มใหญ่ไฝงามนาม "ชุมพล พรประภา"
"ชุมพล พรประภา" หนุ่มใหญ่ผู้นี้ มีเอกลักษณ์เด่นประการหนึ่งที่ใบหน้า เพียงแวบแรกก็สังเกตเห็นได้ คือไฝที่ริมฝีปากบนด้านซ้าย ด้านโหงวเฮ้งเชื่อกันว่า เป็นไฝแสดงถึง "ผู้มีอันจะกิน" ประการหนึ่ง กับไฝที่บ่งถึง "พูดจาเสนาะหูมีคนฟัง" อีกประการหนึ่ง สำหรับชุมพลเองค่อนข้างจะเฮงเอามาก ๆ เพราะเขามีโชคทั้งสองประการรวมกัน
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2531)
สี่นคร...ก้าวเดินที่ทรงพลัง
การประชุมสัมมนาฝึกอบรมประธานหอการค้าจังหวัดและเจ้าหน้าที่บริหาร 18 หอ
79 คน เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2529
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2530)