Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ12  
ผู้จัดการรายวัน6  
ผู้จัดการรายสัปดาห์2  
Web Sites1  
Total 19  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > International Monetary Fund (IMF)


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 10 of 12 items)
ผู้อำนวยการกองทุนการเงินระหว่างประเทศคนใหม่ คณะกรรมการบริหารกองทุนการเงินระหว่างประเทศมีมติเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2547 ให้นายร็อดดริโก ราโต (Rodrigo Rato) ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการกองทุนการเงินระหว่างประเทศ ตำแหน่งผู้อำนวยการกองทุนการเงินระหว่างประเทศว่างลง เมื่อนายฮอร์สต์ โคห์เลอร์ (Horst Koehler) ลาออกจากตำแหน่งเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2547 เพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีแห่งเยอรมนี(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Second-Generation Economic Reform ธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหว่างประเทศป่าวประกาศให้ชาวโลกรับทราบตั้งแต่ต้นทศวรรษ 2540 ว่า นานาประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งโลกที่สาม ควรจะก้าวเข้าสู่การปฏิรูป เศรษฐกิจรุ่นที่สอง(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
ลาที... กองเดอซูส์ ช่วงเวลานี้จนถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ปีหน้า ถือได้ว่าเป็นข่วงเวลาแห่งการนับถอยหลังของมิเชล กองเดอซูส์ (Michel Camdessus) กรรมการจัดการ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund) หรือ ไอเอ็มเอฟ (IMF) ซึ่งประกาศล้างมือในอ่างทองคำ หลังจากที่อยู่ในตำแหน่งนี้นานถึง 3 เดือน(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
2 ปีใต้เงาไอเอ็มเอฟ เศรษฐกิจไทย ยังมีระเบิดเวลารออีกหลายลูก!! ตัวเลขการคาดหมาย จากสำนักวิเคราะห์เศรษฐกิจหลายสำนักต่างพูด โดยสอดคล้องกันว่าเศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัวแล้ว คนที่มองอย่างระมัดระวังที่สุดก็กล่าวเช่นนี้ โดยให้ตัวเลขการฟื้นตัวยังเป็นติดลบอยู่เล็กน้อย ไม่ถึง (-) 1% ซึ่งความข้อนี้ก็พอทำให้หลายๆ คนรู้สึกค่อยหายใจสะดวกขึ้นบ้าง พอมีแรงเจรจาขึ้นมาก และรู้สึกดีกับการที่สามารถขยับเนื้อขยับตัวได้บ้าง โดยเฉพาะลูกจ้างบางกลุ่ม บางกิจการสาขาอาชีพที่เริ่มมีการจ้างงานกลับเข้าไปทำใหม่เพียงส่วนน้อย (ในกิจการที่มีการปรับโครงสร้างการเงิน ทั้งส่วนของหนี้สินและทุนเรียบร้อยแล้ว) ขณะที่มองในภาพรวมของแรงงานส่วนมากนั้น ยังไม่ได้มีความรู้สึกที่ดีขึ้นแม้กระผีกลิ้น ตรงกันข้ามชีวิตคนส่วนใหญ่กลับแย่ลง และมีท่าว่าจะต้องแบกภาระหนี้กันหัวโต แน่ๆ (นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
"IMF-วาระแห่งชาติ" = ความหวังของคนไทย" 5 สิงหาคม 2540 "วันกู้ชาติ" ด้วยการยอมรับเงื่อนไขของ IMF และการประกาศ วาระแห่งชาติของรัฐบาล เพื่อเยียวยาปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ แต่กว่าจะถึงวันที่เศรษฐกิจฟื้นตัวกลับมาดีดังเดิมนั้น ทั้งผู้ที่อยู่ในวงการสถาบันการเงิน ผู้ที่ประกอบการรวมทั้งประชาชนจะต้องแบกรับผลกระทบที่เกิดจากเงื่อนไขดังกล่าวในระยะสั้น แม้จะเป็นผลดีในระยะยาวก็ตาม(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
"กลยุทธ์การลงทุนภายหลังเงื่อนไข IMF" ช็อกไปทั้งวงการสำหรับการสั่งปิดไฟแนนซ์รอบที่ 2 ส่งผลให้นักลงทุนในตลาดหุ้นแทบจะรับกับข่าวนี้ไม่ได้ โดยเฉพาะนักลงทุนรายย่อย และกว่าจะตั้งหลักได้ก็แทบเอาตัวไม่รอด อย่างไรก็ตามในช่วงต้นเดือนที่แล้ว (สิงหาคม) ดัชนีตลาดฯ ยังผันผวนอยู่ตลอดเวลา ซึ่งนักวิเคราะห์มองว่าการปรับตัวดังกล่าวเกิดจากแรงเทขายในลักษณะ panic sell ของบรรดานักลงทุนรายย่อยภายในประเทศที่มีต่อข่าวซึ่งไม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้า(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
ไทยเป็นเจ้าหนี้ไอเอ็มเอฟ 10 ล้านเหรียญ การตอบรับพันธะมาตรา 8 กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ของชวลิต ธนะชานันท์ อดีตผู้ว่าธนาคารชาติเมื่อปลายปีที่แล้ว นอกจากเป็นการส่งสัญญาณอย่างจริงจัง ให้กับชุมชนการเงินนานาชาติ ได้รับรู้ถึงการผ่อนคลายการควบคุมการปริวรรตเงินตราจากธุรกรรมทางการค้าระหว่างประเทศแล้ว(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2534)
ปรัชญาเศรษฐศาสตร์เมืองของพิสิฐ ลี้อาธรรม พิสิฐ ลี้อาธรรมโด่งดังขึ้นมาเมื่อเขาไปมีบททาทในฐานะที่ปรึกษาส่วนตัวของนูกูล ประจวบเหมาะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมมาคมในกรณีพิจารณาบททวนสัญญา"โครงการโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมาย" ที่ซีพีเทเลคอมของกลุ่มเจริญโภคภัณฑ์ที่ได้รับการคัดเลือกจจากรัฐบาลชุดที่แล้ว (ชาติชาย) ให้เป็นผู้การชนะประมูลในการดำเนินการลงทุน ติดตั้งให้องค์การโทรศัพท์(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2534)
บัณฑิต นิจถาวร มันสมองคนไทย ในไอเอ็มเอฟ กองทุนการเงินระหว่างประเทศ หรือไอเอ็มเอฟ มีความสัมพันธ์กับรัฐบาลไทยมายาวนาน ไทยเป็นชาติแรก ๆ ที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกร่วมกับชาติมหาอำนาจตะวันตก นับตั้งแต่หน่วยงานนี้ ก่อตั้งและเริ่มดำเนินการหลังสงครามโลกครั้งที่สอง(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2534)
คู่มือจัดประชุมธนาคารโลกฯปี 2534 แม้เวลานี้ ทางธนาคารโลก/ไอเอ็มเอฟ และกระทรวงการคลังไทย จะยังไม่สามารถให้ตัวเลขผู้เข้าร่วมประชุม และคณะติดตามที่แน่นอนได้ แต่จากการประชุมที่เบอร์ลิน เมื่อปี2531 ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุม และคณะผู้ติดตามจำนวน 12,500 คน อันประกอบด้วย…(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us