"สามารถฯ หนีห่างอย่างเหนือชั้น สู่ยุคอินเตอร์"
กลุ่มสามารถฯ นำโดยธวัชชัย วิไลลักษณ์ ยอมตัดใจขายหุ้นในสามารถ คอร์ปอเรชั่น
20.12% และบริษัทในเครือฯ อีก 33.33% ให้กับกลุ่มเทเลคอม มาเลเซียฯ เพื่อร่วมพัฒนาธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม
หวังได้ความเชี่ยวชาญจากพันธมิตรเพื่อปูทางก้าวไปสู่การเป็นบริษัทอินเตอร์
ด้านเทเลคอม มาเลเซียฯ หวังศักยภาพบุคลากรด้านมัลลิมีเดียของกลุ่มสามารถฯ สร้างโครงการ
MSC
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2540)
"อิเล็กทรอนิกส์ คอมเมิร์ช"แก้วสารพัดนึกของชาญชัย
การอภิปรายเรื่องอิเล็กทรอนิกส์คอมเมิร์ชของ ชาญชัย จารุวัสตร์ ปลุกเร้าตลาดขึ้นทุกขณะ เพราะเข้าใจนำภาพร่างในยุคดิจิตอลมาเสริมความโดดเด่นให้แก่ธุรกิจบริการของกลุ่มสามารถ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
โศกนาฏกรรมรีเอ็นจิเนียริ่ง ที่ไอบีเอ็ม
ตลอดเวลา 2 ปีที่ผ่านมา ศัพท์ที่ฮิตมาก ๆ ในสังคมธุรกิจของไทย คือคำว่า " รีเอ็นจิเนียริ่ง" และมีเพียง 2 องค์กรใหญ่ เท่านั้น ที่ผู้นำกล้าประกาศต่อสาธารณชนว่ากำลังรีเอ็นจิเนียริ่ง บริษัทที่ตนเองบริหารอยู่ แห่งแรกคือ ธนาคารกสิกรไทย โดยบัณฑูร ลำซำ และสองคือบริษัทไอบีเอ็ม ประเทศไทย จำกัด โดยชายชัย จารุวัสต์
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2538)
สูตรผสมที่ลงตัว และวันชื่นคืนสุขของชาญชัย
ในที่สุดการทาบทาม ชาญชัย จารุวัสต์ ให้เข้ามาร่วมในทีมบริหารของกลุ่มสามารถ
เมื่อ 2 ปีที่แล้ว ตั้งแต่สมัยที่เขากลับมาจากสิงคโปร์ เพื่อรับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการในไอบีเอ็ม
ประเทศไทย ก็บรรลุผลสำเร็จ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2538)
ชาญชัย จารุวัสตร์ ยกเครื่องสามารถเทเลคอม
เมื่อต้นปี 2537 สามารถเทเลคอม สร้างความฮือฮาโดย การเข้าไปถือหุ้นในบริษัท
ยีเอสเอส อาร์เรย์ เทคโนโลยี จำกัด คนในวงการต่างมองว่า เป็นก้าวจังหวะใหม่ของสามารถฯที่จะขยายเข้า
สู่ความเป็นผู้ผลิตที่มีเทคโนโลยีชั้นสูงมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2538)
"ไอบีเอ็ม สู่ธุรกิจ 'สมองคน'"
เพียงหนึ่งปีครึ่งบนเก้าอี้กรรมการผู้จัดการไอบีเอ็ม ชาญชัย จารุวัสต์ได้ทำการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่ถึง 2 ครั้ง เพื่อปรับเปลี่ยนองค์กร และเตรียมกำลังคนให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมใหม่ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ของโลกที่ความใหญ่ไม่ใช่อำนาจอีกต่อไป แต่เป็นจุดตาย
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"ยกเครื่องไอบีเอ็ม !!!"
ในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการคนใหม่แห่งไอบีเอ็ม (ประเทศไทย) ชาญชัย จารุวัสตร์ต้องรับภาระหนักและเผชิญกับการท้าทายอย่างที่สุดในชีวิตการทำงาน เขาต้องกอบกู้ภาพพจน์ของการเป็นองค์กรที่มีบุคลากรชั้นเยี่ยมกลับคืนมา ต้องเร่งรัดเปลี่ยนแปลงโครงสร้างองค์กรหลังจากที่พบว่าตลาดมีการแปรผันไปมากกว่าที่เขาคิดและลักษณะองค์กรที่เป็นอยู่ไม่เอื้อต่อการทำธุรกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2536)