ฝากอนาคตไว้ที่ธนาคารกรุงเทพ ปิยะ ซอโสตถิกุล
"ผมตัดสินใจแล้วเมื่อ 2-3 ปีที่ผ่านมาว่า ผมจะทำงานที่ธนาคารกรุงเทพจนเกษียณ ไม่กลับไปทำธุรกิจครอบครัวที่บ้าน" คำบอกกล่าวของปิยะ ซอโสตถิกุล วัย 37 ปี กับ "ผู้จัดการ" เมื่อต้นเดือนเมษายนที่ผ่านมา พนักงานบางคนก็รับรู้ในวันนั้นเป็นครั้งแรกเช่นเดียวกัน สิ่งที่เขาบอกทำให้รู้ว่าเขา "สนุก" กับการทำงานในธนาคารกรุงเทพ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
SMEs ยุค 2008 ของธนาคารกรุงเทพ
แม้ว่าธนาคารกรุงเทพเริ่มปล่อยเงินกู้ให้กับผู้ประกอบการเอสเอ็มอี เมื่อ 10 ปีที่ผ่านมาก็ตาม แต่ก็เป็นไปในรูปแบบ ลองผิดลองถูก จนกระทั่งสามารถค้นหาวิธีการของตนเองเมื่อไม่นานมานี้ โดยใช้ "กลยุทธ์การจับพื้นที่" และ "กลยุทธ์จับอุตสาหกรรม" ทำให้สามารถเก็บเกี่ยวลูกค้ามาแล้ว 2 ปีอย่างเงียบๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
The New Arm บัวหลวง
ธุรกิจหลักทรัพย์ในเมืองไทยเป็นความหวังของคนไทยรุ่นต่างๆ เสมอ อย่างน้อย 3 รุ่นมาแล้ว ใน 3 ทศวรรษที่ผ่านมาตั้งแต่ในยุคก่อตั้งในราวปี 2520 รุ่นที่ 2 เปิดฉากอย่างคึกคัก ในราวปี 2530 และรุ่นล่าสุด ได้ก่อตัวขึ้นอย่างเงียบๆ หลังวิกฤติการณ์ปี 2540 ภายใต้สถานการณ์แวดล้อม ธุรกิจพลิกโฉมหน้าไปมาก โดยมี 'ฝรั่ง' เข้ามาครอบงำมากกว่ายุคใดๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
New Blood
ปิยะ ซอโสตถิกุล, ชอง โท และชนิดา โสภณพณิช ถือเป็นกลุ่มคนหนุ่มสาวรุ่นใหม่ของธนาคารกรุงเทพ
ที่มีความรู้ความสามารถ จนมีโอกาสได้เติบโตขึ้นมาเป็นผู้บริหารระดับสูงของ
บง.บัวหลวง และ บล.บัวหลวง สถาบันการเงินในเครือแห่งใหม่ โดยใช้เวลาไม่นานนัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2545)
เลือดใหม่ "ดาต้าแมท"
ไปรเทพ ซอโสตถิกุล กรรมการผู้อำนวยการใหญ่
เป็นบุตรชายคนเดียวในจำนวนพี่น้องที่ประกอบธุรกิจแขนงใหม่ โดยตติยะ น้องชายนั้นนั่งเป็นกรรมการผู้จัดการให้กับห้างซีคอนสแควร์ ส่วนพี่ชาย ธีระ จะรับผิดชอบกิจการนันยางซึ่งล้วนแต่เป็นธุรกิจดั้งเดิมของตระกูล
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)