กรณ์ จาติกวณิช จากเถ้าแก่สู่มืออาชีพ
ช่วงเหตุการณ์ "แบล็ก มันเดย์" เมื่อเดือนตุลาคม 2530 กรณ์ จาติกวณิช
มีอายุ 23 ปี การตกต่ำของภาวะเศรษฐกิจในครั้งนั้น ส่งผลกระทบต่อทัศนคติของกรณ์อย่างยิ่ง
และเขาก็ตัดสินใจเดินทางกลับประเทศไทย หลังจากเป็นผู้จัดการกองทุนให้กับ S.G.Warburg
&Co. ในลอนดอนอยู่นานถึง 3 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
ตลกวิชาการของเจ.เอฟ. หัวเราะสะท้านบู๊ลิ้มของมนตรี
"กระสุนนัดเดียวแต่ยิงนกได้สามตัว" เมื่อสิ้นปีที่แล้วกรณ์ จาติกวณิช
บิ๊กบอสเป็นพ่องานจัดเลี้ยงขอบคุณลูกค้าและสื่อมวลชน ตามด้วยจัดฉากรายการมันนี่ทอล์กสัมมนาโต๊ะกลมในหัวข้อ
"วิพากษ์หุ้นไทยสไตล์เจ.เอฟ." ที่ยิงออกอากาศในทีวีช่อง 11 ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
นพดล มิ่งจินดา "พ่อบ้านเหอ" ผู้กำกับมาตรฐานค้าหุ้นของจีเอฟ
ในยุคจรรยาบรรณเสื่อมโทรม การที่ ก.ล.ต. บังคับให้ทุกบริษัทหลักทรัพย์ต้องตั้งหน่วยงานกำกับและตรวจสอบภายใน (COMPLIANCE UNIT) ขึ้น โดยหลักการย่อมเป็นสิ่งประเสริฐ แต่โดยทางปฏิบัติยังมีอุปสรรคอยู่มากมาย เพราะตราบใดที่เจ้าหน้าที่หน่วยงานยังคงรับเงินเดือน และอยู่ใต้บังคับบัญชาการของผู้บริหารก็คงไม่มีใครกล้า "ฟ้องนาย-ขายเพื่อน" โดยทำบันทึกรายงานความผิดของเจ้านายตนเองแน่นอน นี่คือตัวอย่างความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2538)
เจ.เอฟ.ธนาคม
เพียงปีเดียวหลังการเปิดดำเนินการซื้อขายหลักทรัพย์อย่างเป็นทางการ เจ.เอฟ.ธนาคมสามารถทำกำไรสุทธิได้ถึง
39 ล้านบาท คณะกรรมการซึ่งมีเกษม จาติกวณิชเป็นประธานฯได้มีมติให้จ่ายเงินปันผล
50 %หรือหุ้นละ 195 บาท
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
ทิม แมคเคนนา "ยังไม่มีบริษัทไหนวิเคราะห์หุ้นได้สมบูรณ์ที่สุด"
หน่วยงานวิจัยและวิเคราะห์หลักทรัพย์เป็นงานสำคัญถึงขนาดกล่าวได้ว่าเป็นหัวใจของบริษัทหลักทรัพย์เลยทีเดียว
ก็ว่าได้มีหน่วยงานวิจัยที่ค่อนข้างสมบูรณ์ก็คือว่า มีข้อได้เปรียบในการให้บริการลูกค้าไปกว่าครึ่งค่อนแล้ว
โดยเฉพาะหารมีลูกค้าชาวต่างชาติจำนวนมากแล้วละก็หน่วยงานนี้จะยิ่งทวีความสำคัญและเป็นเรื่องจำเป็นอย่างยิ่งทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2532)