Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ10  
ผู้จัดการรายวัน3  
Total 13  

Listed Company
Manager Lists
 
People > เริงชัย มะระกานนท์


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 10 of 10 items)
กรณีเริงชัย มะระกานนท์ กรณีศึกษา การตัดสินใจเพื่อชาติ วงเงิน 1.85 แสนล้านบาท เป็นทุนทรัพย์ความเสียหายในคดี แพ่งที่สูงที่สุดในประวัติศาสตร์กระบวนการยุติธรรมในประเทศไทยเป็นวงเงินที่ทางการโดยธนาคารแห่งประเทศไทย ระบุว่าเริงชัย มะระกานนท์ อดีตผู้ว่าการแบงก์ชาติ คือ ผู้ที่ก่อให้เกิดความ เสียหาย จากการนำเงินทุนสำรองระหว่างประเทศไปใช้ในการปกป้อง ค่าเงินบาทในช่วงระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2539 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2540 ก่อนมีการประกาศลอยตัวค่าเงินบาทในอีก 2 วันถัดมา ซึ่งเป็นจุดพลิกผันเศรษฐกิจของประเทศไทยให้ก้าวเข้าสู่วิกฤติ(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2545)
เริงชัย มะระกานนท์ โจทย์การเงินผสมการเมืองของผู้ว่าแบงก์ชาติคนที่ 14 กระดาษประทับตราธนาคารแห่งประเทศไทย ชื่อ เริงชัย มะระกานนท์ ผู้ว่าการพิมพ์ด้วยตัวอักษรสวยงามเด่นชัด เสมือนประกาศความภาคภูมิใจของเจ้าของตำแหน่งที่รอคอยมานานไม่ต่ำกว่า 25 ปี นับตั้งแต่เริงชัยเริ่มทำงานที่สถาบันอันทรงเกียรติแห่งนี้ (นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
"เริงชัย มะระกานนท์ …พ้นพงหนาม?" เริงชัย เป็นนักเรียนทุนคนแรกของแบงก์ชาติที่ขึ้นถึงตำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ซึ่งตำแหน่งสูงสุดสำหรับข้าราชการประจำของแบงก์ชาติ เริงชัยเป็นผู้ช่วยผู้ว่าการสายที่ 5 รับผิดชอบสำนักงานสาขา(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
เริงชัยกลับแบงก์ชาติ 1 ตุลาคม 2530 เริงชัย มะระกานนท์ กรรมการรองกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงไทย จะกลับไปทำงานที่แบงก์ชาติในตำแหน่งผู้ช่วยผู้ว่าการธนาคารฯ(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2530)
แบงก์ชาติโยกย้ายแต่งตั้งหลายตำแหน่ง 16 กันยายน 2530 ธนาคารแห่งประเทศไทยมีการโยกย้ายแต่งตั้งบุคคลกันหลายตำแหน่ง ซึ่งรายชื่อของคนที่ได้รับการแต่งตั้งใหม่นั้น มีเริงชัย มะระกานนท์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงไทยเป็นผู้ช่วยผู้ว่าการฯรับผิดชอบด้านกิจการสาขา ประพันธ์ วิโรทัย เป็นผู้ช่วยผู้รับการฯรับผิดชอบด้านกิจการธนบัตรทั้งหมด(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2530)
โครงการ 4 เมษา สูตรผสมโหด-เลว-ดี ที่ยังอยู่ในห้องทดลอง? ลักษณะพิเศษของโครงการ 4 เมษายนนั้น นอกจากความฉุกละหุกแล้ว ประการสำคัญเห็นจะอยู่ที่ความเป็นสูตรผสมของวัฒนธรรมการคลี่คลายปัญหาแบบไทย ๆ ที่มีหลายอารมณ์และมีความเป็นสุภาพบุรุษที่ยืดได้หดได้ บางครั้งก็โหด บางครั้งก็ไม่ค่อยจะดีนัก แต่ก็จบลงด้วยความสบายใจของทุกฝ่ายยิ่งกว่าหนังไทยเสียอีก และไม่แน่นักอาจจะมีภาค 2 ภาค 3 ต่อไปอีกหากผู้ชมเรียกร้อง(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
สังสรรค์ผู้บริหารทรัสต์ 4 เมษา ที่ผิดพลาดพลั้งไป...อภัยด้วย เย็นวันนั้นวันที่ 23 มกราคม 2530 ที่ภาคบ่ายมีการประชุมร่วมระหว่างเจ้าหน้าที่กระทรวงการคลัง, แบงก์ชาติและคนจากธนาคารกรุงไทย รัฐมนตรีคลังสุธี สิงห์เสน่ห์ นั่งเป็นประธานคู่กับ ดร. ศุภชัย พานิชภักดิ์ รัฐมนตรีช่วย(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)
วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ "พยัคฆ์หนุ่มลำพอง" แห่งค่ายบ้านโป่ง ที่กลายเป็นเสือลำบาก เพราะเครดิตดีเกินไป วิบูลย์ ผาณิตวงศ์ กลายเป็นเซียนอายุเยาว์ที่สุดในวงการน้ำตาล เมื่อเขาสามารถทำกำไรให้กิจการที่ตายแล้วอย่างโรงงานน้ำตาล 13 ในปี 2523 และกลายเป็นนักธุรกิจน้ำตาลที่มีเครดิตดีที่สุดในสายตาของธนาคารพาณิชย์(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2528)
เริงชัย มะระกานนท์ ผู้อำนวยการฝ่ายการธนาคาร ธนาคารแห่งประเทศไทย เรื่องอัตราดอกเบี้ยที่เกี่ยงกันทุกครั้งว่าจะให้แบงก์ชาติประกาศลดให้หรือธนาคารพาณิชย์ลดกันเอง ทำไมไม่จบสิ้นเสียที(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2528)
ร้านชื่อติ๊ก ขายแต่ไอติม ห้ามคุยเรื่องการเงิน จากสี่แยกโคลีเซียมตรงแน่วเข้าไปทางถนนอุรุพงษ์ ที่เพิ่งตัดใหม่ประมาณ 150 เมตร ร้าน “ติ๊ก” จะตั้งอยู่ริมถนนด้านขวามือ สังเกตเห็นได้ไม่ยากเย็น(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2526)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us