สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาเทวะวงศ์วโรปการ
หนังสือเรื่องนี้แม้มีความหนา 916 หน้า และมีถึง 2 เล่ม แต่ละเล่มมี 44 บท โดยคนอ่านไม่จำเป็นต้องอ่านต่อเนื่องกันไป สามารถเลือกอ่านบทใดบทหนึ่งที่สนใจก่อนก็ได้ แต่ความสนุกของเนื้อหาทำให้อ่านได้หมดเล่มแทบไม่รู้ตัว
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2548)
3 เดือนแห่งความคลุมเครือ
26 ก.ค.2547 คณะกรรมการ KTB มีมติรับวิโรจน์ให้กลับมารับ ตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ต่ออีก 1 สมัย ในขณะที่กระแสข่าวเรื่อง NPLs ของธนาคารที่เพิ่มขึ้น 4.6 หมื่นล้านบาทจากลูกหนี้ 14 ราย กำลังกดดันราคาหุ้น KTB ในตลาด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
ละเลย?
ในที่สุดความคลุมเครือที่กดดันราคาหุ้นของธนาคารกรุงไทย (KTB) มากว่า 3 เดือน ก็ถูกเฉลยออกมาแล้วว่ามีสาเหตุมาจากความต้องการสกัดกั้นการกลับเข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ รอบ 2 ของวิโรจน์ นวลแข ที่พ้นจากตำแหน่งหลังหมดวาระไปเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2547)
เล่นกันแรง!!!
กลายเป็นเรื่องร้อนแรงที่สุดในรอบเดือนสิงหาคมที่ผ่านมา กรณีตัวเลขหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) ของธนาคารกรุงไทย (KTB) ในงวดไตรมาส 2 ที่เพิ่มสูงขึ้นถึง 4.6 หมื่นล้านบาท หรือเพิ่มจาก 7.78% ในไตรมาสที่ 1 มาเป็น 12.29% จนทำให้ธนาคาร ต้องตั้งสำรองหนี้สงสัยจะสูญเพิ่มขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่าแบงก์ชาติคนใหม่จริงๆ
แม้เขาจะเป็นคนที่ถือว่าเป็นผู้ว่าการ "คนนอก" มากที่สุดคนหนึ่ง ในประวัติธนาคารชาติของไทย
แต่เขาก็มีความใกล้ชิดในฐานะคนที่อยู่อาศัยบริเวณใกล้กับธนาคารแห่งนี้มา 21
ปีเต็ม ยิ่งไปกว่านั้นการกาวเข้ามาของเขา ได้สร้างมิติใหม่ของความสำคัญของธนาคารกลางแห่งนี้
อย่างที่ไม่มีใครทำได้มาก่อนหลังจากช่วงวิกฤติการณ์สังคมไทยเป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)
นโยบายจับคนผิด "หม่อมอุ๋ย" "ถ้าผมจะทำ ต้องชนะ"
แนวคิดที่แตกต่างกันของผู้ว่าแบงก์ชาติคนปัจจุบันกับผู้ว่าคนก่อนเริ่มปรากฏให้เห็นเพิ่มขึ้นอีก
หลังจากที่ได้มีการขึ้นอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร ประเภท 14 วัน จากระดับ
1.5% เป็น 2.5% ไปเมื่อ 3 เดือนก่อน เพื่อให้โครงสร้างอัตราดอกเบี้ยของระบบเป็นรูป
เป็นร่าง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล ผู้ว่า ธปท.คนใหม่ ในภาวะการเงินที่ล่อแหลม
การประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยซื้อคืนพันธบัตร ประเภท 14 วัน จากระดับ 1.5%
เป็น 2.5% ถือเป็นการเปลี่ยนแปลงนโยบายการเงินอย่างเป็นรูปธรรมครั้งแรก ภายหลังการเข้ารับตำแหน่งผู้ว่าการธนาคาร
แห่งประเทศไทย (ธปท.) คนที่ 20 ของ ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
ม.ร.ว.ปรีดิยาธร เทวกุล
การตัดสินใจครั้งสำคัญครั้งที่สองของเขาอย่าง พลิกผัน มีแรงบันดาลใจแตกต่างกับครั้งแรกอย่างสิ้นเชิง
ครั้งนี้ถือเป็นการทำงานที่ท้าทาย และเร้าใจมาก กว่าครั้งใดๆ ของชีวิตบุรุษผู้นี้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2544)