ต้นแบบ Mr.P
ชัยยุทธ พลายเพ็ชร์ ดีไซเนอร์หนุ่มใหญ่วัย 42 ปี ผู้สร้างสรรค์ Mr.P เป็นผู้ร่วมบุกเบิกแนวทางดีไซน์งานของพร็อพพาแกนดามาแต่แรก ชัยยุทธมีบุคลิกขี้เล่น ทะเล้นทะลึ่ง ดูเหมือนไม่แคร์สังคม แต่ขณะเดียวกันก็เป็นคนขี้อาย ไม่ผิดแผกไปจาก Mr.P ที่เขาออกแบบขึ้นมาเอง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
การกลับมาอีกครั้งของ Mr.P(ropaganda)
เงียบหายไป 2-3 ปี Propaganda เปิดตัวอีกครั้งหลังปรับองค์กรขนานใหญ่ พร้อมการกลับมาของตัวการ์ตูนขี้เล่นแฝงความทะลึ่งทะเล้น เจ้าของชื่อ Mr.P พระเอกดาวรุ่งหน้าเก่าที่จะมาชูธงนำ Propaganda ก้าวเข้าสู่ศักราชใหม่ ปีที่ 13
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
เมตตา สุดสวาท นำ Propaganda บุกตลาดโลก
เมตตาและทีมงานมีความฝันที่จะผลักดันแบรนด์ของ Propagandaให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในฐานะของ International Design Brand ในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
STRATEGIC PARTNER SME ไทย
มร.เทียรี่ ร็อบบิ้น ชายหนุ่มวัย 39 ปี คือดิสทริบิวเตอร์ ประจำปารีส Propaganda
ซึ่งถือเป็นพาร์ตเนอร์ ต่างประเทศรายแรกเสียด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2542)
"Propaganda" จากกราฟิกดีไซน์สู่โปรดักส์ดีไซน์
หลังจากประสบความสำเร็จอย่างมากในการผลิตและจำหน่ายสินค้าตกแต่งภายใต้แบรนด์ "Propaganda" เพราะมียอด
จำหน่ายต่างประเทศถึง 80% ของสินค้าที่ผลิตทั้งหมด มาบัดนี้ Propaganda เริ่มเผชิญอุปสรรคหลายด้าน โดยเฉพาะใน
ตลาดต่างประเทศที่วิธีขายขาดทำให้การจัดวางสินค้าในตลาดเจอคู่แข่งสูงมาก เมตตา สุดสวาท ตัดสินใจปิดฉาก
งานกราฟิกดีไซน์ของ Propaganda ที่ใช้ เป็นกลยุทธ์เปิดตลาดในตอนเริ่มต้นหันมามุ่งสร้างงานโปรดักส์ดีไซน์ เพื่อหนี
ไกลคู่แข่งทั้งหลาย แถมด้วยการก้าวสู่ปารีส-ศูนย์กลางการชอปปิ้ง เพื่อเปิดชอป "เมดอินไทยแลนด์" ใช้เป็นหัวหอกบุกเบิก
ตลาดต่างประเทศ เถลิงศก ค.ศ. 2000
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2542)