KBANK's Outsourcing Case Study อีกเรื่องของธนาคารไทย
"มันก็เห็นว่าโจทย์คืออะไร เห็นอยู่ว่าคอขวดอยู่ตรงไหน ถึงจุดหนึ่งมันก็ปิ๊งขึ้นมาว่า
มันต้องมีทางออกสิ เราไม่ใช่คนแรกในโลก แต่เราเป็นคนแรกในเมืองไทยที่ทำในสเกลใหญ่
สเกลก็คือยกให้ไปหมด ไทยทนุทำแค่ 20 คน แต่ดีบีเอส เวิลด์ไวด์ เซ็นสัญญาวันเดียวกับเรา
แต่ตอนนั้นเราไม่ได้ทำข่าวใหญ่ ดีบีเอสทำเป็นข่าวใหญ่ แต่จริงๆ แล้วเซ็นพร้อมกัน
ผมเชื่อเลยว่าอีกไม่นานก็จะต้องมีคนทำตาม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
MD ที่ลำบากที่สุด
วนารักษ์ เอกชัย เป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่ ที่อยู่ในตำแหน่งยาวนานที่สุดถึง
6 ปีเต็ม และเป็นผู้นำองค์กรที่ต้องผ่านช่วงเวลายากลำบากที่สุดช่วงหนึ่งของไอบีเอ็ม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
วนารักษ์ เอกชัย ภารกิจที่ยังไม่จบ
เขาจัดเป็นมืออาชีพอีกคนหนึ่งที่อยู่ร่วมในองค์กรธุรกิจข้ามชาติ
เป็นระยะเวลาที่ยาวนานถึง 22 ปี "ถ้าเป็นปลาก็เปลี่ยนมาแล้วหลายน้ำ"
วนารักษ์เปรียบเปรยถึงตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
ตลาดโฮมยูส ไอบีเอ็มยุคไม่แพง?
ไอบีเอ็มยุคท่องคาถา "ไม่แพง" จะดังก้องไปถึงตลาดโฮมยูสหรือไม่? ยังเป็นที่น่าสงสัย
วนารักษ์ เอกชัย กล่าวว่า เนื่องจากไอบีเอ็มมีเทคโนโลยีครบทุกแขนง ดังนั้นจึงต้องสนใจขยายตลาดตั้งแต่องค์กรขนาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
"ไอบีเอ็มยุค "วนารักษ์ เอกชัย" เปียกปอนกันโดยถ้วนหน้า"
มีคำถามเกิดขึ้นมากมาย หลังจากไอบีเอ็มเจ้าของฉายา "บิ๊กบลู" แห่งวงการคอมพิวเตอร์ประกาศปรับเปลี่ยนนโยบายการตลาดด้วยการหันมายึดแนวทางทำธุรกิจร่วมกับคู่ค้า หรือที่เรียกว่า IBM BUSINESS PARTNER CHARTER ซึ่งจะเป็นแผนแม่บทที่ไอบีเอ็มจะยึดเป็นแนวทางนับจากนี้
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
วนารักษ์ เอกชัย กับวันที่ "ฟอร์ม" ของไอบีเอ็มอาจจะเปลี่ยนไป
แทนที่วนารักษ์ เอกชัย ทายาทของตระกูลหนังสือพิมพ์ จะยึดวิชาชีพสายข่าวตามที่เขาได้สัมผัสมาตลอดชีวิต
เพราะไม่ว่าจะเป็นสนิท เอกชัย บิดาของเขาซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในประวัติศาสตร์ของหนังสือพิมพ์
"เดลินิวส์" และผู้ให้กำเนิดหนังสือพิมพ์ เดลิไทม์ และเสริมศรี
เอกชัย ผู้เป็นมารดา คอลัมนิสต์ชื่อดัง เจ้าของนามปากกา "สนทะเล"
และปัจจุบันยังเป็นกรรมการในบริษัทมติชนด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)